Page 64 - J Trad Med 21-1-2566
P. 64

44 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 21  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2566




                    บทนำ�และวัตถุประสงค์               กล้ามเนื้อหดยึด (myofascial pain syndrome;
                โรคลมปลายปัตฆาตสัญญาณ 4 หลัง เป็นชื่อ   MPS) มีลักษณะทั่วไปหลายประการที่คล้ายคลึง

           โรคที่ก�าหนดขึ้นโดยแพทย์แผนไทยประยุกต์ ซึ่งได้  กับโรคลมปลายปัตฆาต  ซึ่งโรค MPS มีลักษณะ
                                                                          [18]
           นิยามความหมายของโรค “ลมปลายปัตฆาต’’ ว่าเป็น  อาการโรค 2 ประเภท ดังนี้ (1) พังผืดกล้ามเนื้อแบบ
           โรคลมชนิดหนึ่งเกิดจากการติดขัดของเลือดลมในเส้น   ปฐมภูมิ (primary myofascial pain) ผู้ป่วยมักมี

           ท�าให้เส้นแข็งตึง เป็นก้อนเป็นล�าตามกล้ามเนื้อ เส้น  อาการปวดตึงกล้ามเนื้อเฉพาะจุด (local pain) โดย
           เอ็น เยื่อหุ้มกระดูก และริมหัวต่อกระดูก ซึ่งทางหัตถ  คล�าพบจุดกดเจ็บ (trigger point) บริเวณกล้าม

           เวชกรรมไทยได้ระบุสาเหตุของโรคเกิดจากท่าทาง   เนื้อบ่า ต้นคอ สะบัก และหลังตอนบน ซึ่งถ้ากระตุ้น
           อิริยาบถ การท�างานหนักเกินก�าลัง ความเครียด การ  ด้วยการกดมักพบอาการปวดแผ่ร้าว (referred
           พักผ่อนไม่เพียงพอ อุบัติเหตุ หรือความเสื่อมของ  pain) ไปยังบริเวณอื่น ๆ ของร่างกาย เช่น ท้ายทอย

           กระดูกคอ อาการของโรคประกอบด้วย อาการปวด     เบ้าตา หัวไหล่ แขน หรือหน้าอก (2) พังผืดกล้าม
           ตึงกล้ามเนื้อบ่า ต้นคอ และสะบัก ร้าว ชา ลงแขน  เนื้อแบบทุติยภูมิ (secondary myofascial pain)

           ด้านในหรือแขนด้านนอกจนถึงปลายนิ้วมือ ขัดยอก  จะมีลักษณะของอาการปวดตึงกล้ามเนื้อแบบเดียว
           หน้าอกขณะหายใจ บางรายอาจมีอาการปวดท้ายทอย   กับชนิดปฐมภูมิ แต่มีจ�านวนจุดกดเจ็บมากกว่า 1
           ร่วมด้วย [1-8]                              ต�าแหน่ง ซึ่งจุดกดเจ็บดังกล่าวมักมีอาการปวดแผ่

                เมื่อท�าการสืบค้นอุบัติการณ์ที่สัมพันธ์กับสาเหตุ  ร้าวไปยังบริเวณอื่น ๆ ที่ไม่เป็นไปตามแนวผิวหนังที่
           และอาการของโรคลมปลายปัตฆาตสัญญาณ 4 หลัง     หล่อเลี้ยงด้วยเส้นประสาทไขสันหลัง (dermatome)
           พบว่าเป็นความผิดปกติของระบบกล้ามเนื้อและ    ซึ่งสัมพันธ์กับโรคกระดูกคอเสื่อมร่วมด้วย ขณะที่

           กระดูก (musculoskeletal disorders) ที่สัมพันธ์  โรคกระดูกคอเสื่อม (cervical spondylosis) [19-20]
           กับอุบัติการณ์ของโรคทั้งกลุ่มผู้ประกอบอาชีพแรงงาน  ผู้ป่วยมักมีอาการปวดตึงบ่า ต้นคอ ร้าวลงสะบัก หรือ
           ภาคเกษตรกรรม อุตสาหกรรม และผู้ประกอบอาชีพ   ร้าวไปตามเส้นประสาทแขน ชาที่บริเวณมือและปลาย

           ไม่ใช้แรงงาน ปัญหาดังกล่าวมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นและ  นิ้ว และอาจมีอาการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อแขนร่วม
           มีผลกระทบต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน  ซึ่ง  ด้วย บางครั้งอาจพบอาการปวดแผ่ร้าวไปถึงท้ายทอย
                                               [9]
           กลุ่มอาชีพแรงงานพบความชุกของโรคในกลุ่มพ่อค้า  อาการดังกล่าวเกิดจากความเสื่อมของกระดูกสันหลัง
           ส่งผลไม้ กลุ่มพนักงานโรงงานตัดเย็บผ้า และกลุ่ม  ส่วนคอ (cervical vertebrae) เนื่องจากการลดลง
           ผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม [10-14]    ของสารน�้าในหมอนรองกระดูกสันหลัง (nucleus

           ขณะที่ผู้ประกอบอาชีพไม่ใช้แรงงาน พบความชุกใน  pulposus) ส่งผลต่อความสามารถในการกระจายแรง
           กลุ่มพนักงานส�านักงาน พนักงานสายสนับสนุนใน  และการรับน�้าหนักตามแนวกระดูกสันหลัง ซึ่งในระยะ

           โรงพยาบาล พนักงานบัญชี เลขานุการ พนักงานพิมพ์  ต่อมาจะเกิดการสร้างจะงอยกระดูกหรือปุ่มกระดูก
           ดีด พนักงานธนาคาร และกลุ่มนักศึกษา เป็นต้น [15-17]    งอก (osteophyte หรือ spur) ก่อให้เกิดการกดทับ
           จากการสืบค้นโรคทางการแพทย์แผนปัจจุบันที่    รากประสาท (nerve root) หรือไขสันหลัง (spinal

           สอดคล้องกับโรคลมปลายปัตฆาตพบว่าโรคปวด       cord) โดยที่อาการของโรคจะขึ้นอยู่กับการกดทับของ
   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69