Page 60 - J Trad Med 21-1-2566
P. 60

40 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 21  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2566




           ด้วยน�้าและน�้าประปา ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ   ที่ต้องลงแรงจึงเป็นหน้าที่ที่หัวหน้าครอบครัวเป็น
           โดยสรุป ผลการวิจัยในครั้งนี้สารสกัดย่านางแดงสด  ผู้รับผิดชอบ อีกทั้งผู้ที่มีอายุอยู่ในช่วงวัยท�างานจะมี

           ที่สกัดด้วยน�้าสามารถลดปริมาณที่ตกค้างของสาร  ประสบการณ์ ความสามารถพิจารณาและวิเคราะห์การ
           เมทโธมิลในถั่วฝักยาวได้สูงที่สุดเท่ากับ 83.03% [10]  ตัดสินใจ แก้ปัญหาได้ดีกว่าเกษตรกรที่มีอายุน้อย ผล
                3. ปัจจัยด้านการใช้สมุนไพรย่านางแดงแต่ละ  การวิจัยข้างต้นไม่สอดคล้องกับงานวิจัยเรื่อง ปัจจัยที่

           ประเภท มีความสัมพันธ์กับระดับเอนไซม์  อย่างมี  มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมความปลอดภัยในการ
           นัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.005 โดยพบว่า การใช้  ใช้สารเคมีก�าจัดศัตรูพืชของกลุ่มเกษตรกรชุมชน
           สมุนไพรย่านางแดงกลุ่มชาชงท�าให้กลุ่มตัวอย่างมี  แห่งหนึ่ง ในจังหวัดนครศรีธรรมราช ผลการวิจัย

           ระดับเอนไซม์โคลีนเอสเทอเรสมากกว่ากลุ่มควบคุม  พบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรม ความ
           และกลุ่มการอบ ทั้งนี้เป็นเพราะว่า การสกัดสมุนไพร  ปลอดภัยในการใช้สารเคมีก�าจัดศัตรูพืชคือ ระดับ
           ย่านางแดงแต่ละวิธีนั้นมีสรรพคุณตามต�ารายาไทย  การศึกษา ระยะเวลาในการประกอบอาชีพ ระยะเวลา

           ในการล้างพิษออกจากร่างกายที่มากน้อยแตกต่าง  ในการใช้สารเคมีก�าจัดศัตรูพืช ความรู้ และทัศนคติ
           กัน โดยสมุนไพรย่านางแดงที่ผ่านการสกัดแบบชาชง   ของเกษตรกรในการใช้สารเคมีก�าจัดศัตรูพืช อย่างมี

           สามารถขับสารพิษได้ดีกว่าในรูปแบบการอบ เพราะ  นัยส�าคัญทางสถิติ (p < 0.05) [12]
           คุณสมบัติของน�้าเร่งการขับสารพิษออกจากร่างกาย
           ได้เร็วกว่าการรับประทาน สอดคล้องกับงานวิจัย                 ข้อสรุป

           ที่ท�าการศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิผลในการเพิ่ม     ผู้เข้าร่วมวิจัยที่ได้รับการคัดเลือกในกลุ่มที่
           ระดับเอนไซม์โคลีนเอสเทอเรสในกระแสเลือดระหว่าง  ดื่มชาชงสมุนไพรย่านางแดงมีระดับเอนไซม์โคลีน

           สมุนไพรรางจืดและย่านางแดงในกลุ่มเกษตรกร พบ  เอสเทอเรสสูงขึ้นอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ (U =
           ว่า การดื่มชาชงสมุนไพรรางจืดและชาชงสมุนไพร  -4.737, p < 0.001) โดยระดับเอนไซม์หลังการใช้ยา
           ย่านางแดงเพิ่มระดับเอนไซม์โคลีนเอสเทอเรส ใน  สมุนไพร อยู่ในระดับปลอดภัย (≥ 87.5 u/ml.) และ

           กระแสเลือดในกลุ่มเกษตรกรอย่างมีนัยส�าคัญทาง  ระดับปกติ(≥ 100 u/ml.) ดีขึ้นร้อยละ 77.4
           สถิติที่ระดับ 0.001 [11]
                4.  เพศ อายุ ระดับการศึกษา ระยะเวลาในการ            ข้อเสนอแนะ

           ใช้สารเคมีก�าจัดศัตรูพืชต่อครั้ง ความรู้เกี่ยวกับการ     1.  ควรเพิ่มขนาดตัวอย่างในการวิจัย เพื่อเพิ่ม
           ใช้สารเคมีก�าจัดศัตรูพืช และการใช้สมุนไพรย่านาง  ค่าระดับความเชื่อมั่นทางสถิติ
           แดง พบว่า ไม่มีความสัมพันธ์กับระดับความเสี่ยงต่อ     2.  ควรมีศึกษาแบบไปข้างหน้า เพื่อติดตามผล

           สุขภาพในการท�างาน โดยที่เกษตรกรเพศชายมีความ  การวิจัยในระยะยาว และเพิ่มความถี่ในการวัดผล เช่น
           เสี่ยงต่อสุขภาพในการท�างาน ในระดับค่อนข้างสูง-สูง   1 สัปดาห์ 2 สัปดาห์ 3 สัปดาห์ 1 เดือน เป็นต้น

           มากกว่าเพศหญิง อาจเพราะการท�าเกษตรจะท�ากัน      3.  ควรมีการศึกษากับกลุ่มเป้าหมายอื่นที่มี
           เป็นครอบครัว โดยที่หัวหน้าครอบครัวส่วนใหญ่เป็น  ความเสี่ยง เช่น ผู้จ�าหน่วยสารเคมีก�าจัดศัตรูพืช
           เพศชาย การท�างานที่ค่อนข้างเสี่ยง หรือการท�างาน  แม่ค้าในตลาดสด คนในชุมชน เพื่อได้ผลการศึกษา
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65