Page 59 - J Trad Med 21-1-2566
P. 59
J Thai Trad Alt Med Vol. 21 No. 1 Jan-Apr 2023 39
แดง) ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา ระยะเวลาใน ลดพิษที่เกิดจากการตกค้างของสารเคมีก�าจัดศัตรู
การใช้สารเคมีก�าจัดศัตรูพืช/ครั้ง ความรู้เกี่ยวกับการ พืชในเกษตรกร ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาเรื่อง
ใช้สารเคมีก�าจัดศัตรูพืช และการใช้สมุนไพรย่านาง เปรียบเทียบประสิทธิผลในการเพิ่มระดับเอนไซม์
แดง พบว่า การใช้สมุนไพรย่านางแดงมีความสัมพันธ์ โคลีนเอสเทอเรสในกระแสเลือด ระหว่างสมุนไพร
กับระดับเอนไซม์ (p-value = 0.005) และหลังการใช้ รางจืดและย่านางแดงในกลุ่มเกษตรกร 2 กลุ่ม พบ
สมุนไพรย่านางแดงกลุ่มชาชงไม่มีกลุ่มตัวอย่างที่มีค่า ว่า ระดับเอนไซม์โคลีนเอสเทอเรสหลังใช้สูงกว่าก่อน
ระดับเอนไซม์ที่ผิดปกติ (n = 0) ท�าให้กลุ่มตัวอย่างมี ใช้สมุนไพรรางจืดและย่านางแดง อย่างมีนัยส�าคัญ
ระดับเอนไซม์โคลีนเอสเทอเรสมากกว่ากลุ่มการอบ ทางสถิติ (p < 0.001) [11]
และกลุ่มควบคุม ตามล�าดับ (ร้อยละ 100.00 , 80.00 2. ความแตกต่างของเอนไซม์โคลีนเอสเทอเรส
และร้อยละ 74.19) ก่อนและหลังการใช้สมุนไพรย่านางแดงระหว่าง
6. ปัจจัยที่ส่งผลต่อความเสี่ยงต่อสุขภาพในการ กลุ่มชาชง กลุ่มการอบ และกลุ่มควบคุม พบว่า หลัง
ท�างานในเกษตรกรที่สัมผัสสารก�าจัดศัตรูพืช ใช้สมุนไพรย่านางแดงกลุ่มชาชง มีระดับเอนไซม์
จากตารางที่ 9 ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระดับ โคลีนเอสเทอเรสเพิ่มขึ้นมากกว่ากลุ่มการอบ และ
ความเสี่ยงต่อสุขภาพในการท�างาน ได้แก่ เพศ อายุ กลุ่มควบคุม อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001
ระดับการศึกษา ระยะเวลาในการใช้สารเคมีก�าจัดศัตรู เนื่องจากยังไม่มีงานวิจัยใดที่ได้ท�าการทดลองในเรื่อง
พืช/ครั้ง ความรู้เกี่ยวกับการใช้สารเคมีก�าจัดศัตรูพืช การน�าสมุนไพรย่านางแดง มาศึกษาระหว่างการอบ
และการใช้สมุนไพรย่านางแดง พบว่า ทุกปัจจัยไม่มี และการรับประทานในการล้างสารพิษ แต่จากผลการ
ความสัมพันธ์กับระดับความเสี่ยงต่อสุขภาพในการ ทดลองที่เกิดขึ้นอาจตั้งสมมติฐานได้ว่า รูปแบบของ
ท�างาน การจัดการกับสารพิษที่เข้าสู่ร่างกายในกระแสเลือด
เมื่อพูดถึงหลักการทางเภสัชจลนศาสตร์ รูปแบบการ
อภิปรำยผล ขับของเสียผ่านทางไตและตับจากการใช้สมุนไพร ใน
1. ระดับเอนไซม์โคลีนเอสเทอเรสระหว่างก่อน รูปแบบชาชงสามารถขับสารพิษได้ดีกว่าในรูปแบบ
และหลังใช้สมุนไพรย่านางแดงกลุ่มชาชง พบว่า ระดับ การอบ อย่างไรก็ตามผลการศึกษามีสอดคล้องกับ
เอนไซม์โคลีนเอสเทอเรสหลังใช้สูงกว่าก่อนใช้ อย่าง งานวิจัยเกี่ยวกับสารสกัดจากสมุนไพรย่านางแดง
มีนัยส�าคัญทางสถิติ (p < 0.001) ทั้งนี้เป็นเพราะว่า เรื่องประสิทธิผลในการลดปริมาณสารเมทโธมิลที่
สรรพคุณของย่านางแดงตามภูมิปัญญาการแพทย์ ปนเปื้อนในถั่วฝักยาว โดยการแช่น�้าที่มีสารสกัดจาก
พื้นบ้านและการแพทย์แผนไทยนิยมใช้ใบ ต้น และ รางจืดและย่านางแดง พบว่า ย่านางแดงสดที่สกัดด้วย
รากย่านางแดงในการล้างพิษ หรือถอนพิษสารตกค้าง น�้าและย่านางแดงแห้งที่สกัดด้วยน�้ามีความแตกต่าง
ออกจากร่างกาย โดยฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของย่านาง กันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (p-value
แดงมีฤทธิ์ต้านปฏิกิริยาออกซิเดชั่น มีสารประกอบ < 0.001) ย่านางแดงสดที่สกัดด้วยน�้าและน�้าประปา
ส�าคัญคือ ฟีนอลิก มีสรรพคุณในการถอนพิษสาร มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับ
ตกค้างจากยาฆ่าแมลงทางการขับปัสสาวะ จึงเป็นการ 0.05 (p-value < 0.001) และย่านางแดงแห้งที่สกัด