Page 58 - J Trad Med 21-1-2566
P. 58
38 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2566
จากตารางที่ 7 พบว่า 3) ระดับเอนไซม์หลังการใช้ยาสมุนไพรกลุ่ม
1) ระดับเอนไซม์หลังการใช้ยาสมุนไพรกลุ่ม ควบคุม ที่อยู่ในระดับปลอดภัย (≥ 87.5 u/ml.) และ
ชาชง ที่อยู่ในระดับปลอดภัย (≥ 87.5 u/ml.) และ ระดับปกติ (≥ 100 u/ml.) ดีขึ้นร้อยละ 12.9
ระดับปกติ (≥ 100 u/ml.) ดีขึ้นร้อยละ 77.4 5. ปัจจัยที่ส่งผลต่อระดับเอนไซม์โคลีน
2) ระดับเอนไซม์หลังการใช้ยาสมุนไพรกลุ่มอบ เอสเทอเรสในเกษตรกรที่สัมผัสสารก�าจัดศัตรูพืช
ที่อยู่ในระดับปลอดภัย (≥ 87.5 u/ml.) และระดับปกติ จากตารางที่ 8 ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระดับ
(≥ 100 u/ml.) ดีขึ้นร้อยละ 20 เอนไซม์โคลีนเอสเทอเรส (หลังการใช้สมุนไพรย่านาง
ตารางที่ 9 ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระดับความเสี่ยงต่อสุขภาพในการทำางาน
ระดับความเสี่ยงต่อสุขภาพ
ปัจจัย ตำ่า-ปานกลาง ค่อนข้างสูง-สูง Chi-square p-value
(n = 52) (n = 40)
เพศ
ชาย 27 (51.92) 25 (48.08) 1.029 0.310
หญิง 25 (62.50) 15 (37.50)
อายุ
20 - 30 ปี 7 (53.85) 6 (46.15) 4.960 0.175
31 - 40 ปี 11 (40.74) 16 (59.25)
41 - 50 ปี 19 (61.29) 12 (38.17)
51 ปีขึ้นไป 15 (71.43) 6 (28.57)
ระดับการศึกษา
ประถมศึกษา 20 (62.50) 12 (37.50) 2.158 0.540
ม.ต้น/ปวช. 15 (46.88) 17 (53.13)
ม.ปลาย/ปวส. 11 (64.71) 6 (35.29)
ปริญญาตรี 6 (54.55) 5 (45.45)
ระยะเวลาในการใช้สารเคมีกำาจัดศัตรูพืช/ครั้ง
น้อยกว่า 30 นาที 19 (70.37) 8 (29.63) 3.277 0.194
30 - 60 นาที 25 (49.02) 26 (50.98)
60 นาทีขึ้นไป 8 (57.14) 6 (42.86)
ความรู้เกี่ยวกับการใช้สารเคมีกำาจัดศัตรูพืช
มาก 12 (80.00) 3 (20.00) 4.022 0.134
ปานกลาง 11 (52.38) 10 (47.62)
น้อย 29 (51.79) 27 (48.21)
การใช้สมุนไพรย่านางแดง
กลุ่มชาชง 22 (70.97) 9 (29.03) 5.317 0.070
กลุ่มการอบ 17 (56.67) 13 (43.33)
กลุ่มควบคุม 13 (41.94) 18 (58.06)