Page 57 - J Trad Med 21-1-2566
P. 57
J Thai Trad Alt Med Vol. 21 No. 1 Jan-Apr 2023 37
ตารางที่ 7 ระดับเอนไซม์ของแต่ละกลุ่มก่อนและหลังการทดลอง
ระดับไม่ปลอดภัย (< 75.0 u/ml.) ระดับปลอดภัย (≥ 87.5 u/ml.)
สมุนไพรย่านางแดง
และระดับมีความเสี่ยง (≥ 75.0 u/ml.) และระดับปกติ (≥ 100 u/ml.)
กลุ่มชาชง ก่อน 100% -
(n = 31) หลัง 22.6% 77.4%*
กลุ่มอบ ก่อน 100% -
(n = 30) หลัง 80% 20%*
กลุ่มควบคุม ก่อน 100% -
(n = 31) หลัง 87.1% 12.9%*
หมายเหตุ: *ค่าผลต่างระหว่างก่อน-หลังใช้สมุนไพรย่านางแดงดีขึ้น คิดเป็นร้อยละ
ตารางที่ 8 ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระดับเอนไซม์โคลีนเอสเทอเรส (หลังการใช้สมุนไพรย่านางแดง)
ปัจจัย ระดับเอนไซม์โคลีนเอสเทอเรส Chi-square p-value
ผิดปกติ (n = 14) ปกติ (n = 78)
เพศ
ชาย 11 (21.15) 41 (78.85) 3.267 0.071
หญิง 3 (7.50) 37 (92.50)
อายุ
20-30 ปี 1 (7.69) 12 (92.31) 0.877 0.861
31-40 ปี 4 (14.81) 23 (85.19)
41-50 ปี 6 (19.35) 25 (80.65)
51 ปีขึ้นไป 3 (14.29) 18 (85.71)
ระดับการศึกษา
ประถมศึกษา 7 (21.88) 25 (78.13) 4.179 0.244
ม.ต้น/ปวช. 3 (9.38) 29 (90.63)
ม.ปลาย/ปวส. 1 (5.88) 16 (94.12)
ปริญญาตรี 3 (27.27) 8 (72.73)
ระยะเวลาในการใช้สารเคมีกำาจัดศัตรูพืช/ครั้ง
น้อยกว่า 30 นาที 4 (14.81) 23 (85.19) 5.131 0.080
30-60 นาที 5 (9.80) 46 (90.20)
60 นาทีขึ้นไป 5 (35.71) 9 (64.29)
ความรู้เกี่ยวกับการใช้สารเคมีกำาจัดศัตรูพืช
มาก 3 (20.00) 12 (80.00) 2.387 0.320
ปานกลาง 1 (4.76) 20 (95.24)
น้อย 10 (17.86) 46 (82.14)
การใช้สมุนไพรย่านางแดง
กลุ่มชาชง 0 (0.00) 31 (100.00) 10.467 0.005*
กลุ่มการอบ 6 (20.00) 24 (80.00)
กลุ่มควบคุม 8 (25.81) 23 (74.19)
*p-value < 0.01