Page 118 - J Trad Med 21-1-2566
P. 118
98 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2566
อภิปร�ยผล ยาสมุนไพรหรือองค์ความรู้ด้านการแพทย์ดั้งเดิม
การดูแลผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายด้วยการ และยังมีความกังวลเกี่ยวกับความปลอดภัยของยา
แพทย์แผนไทยและสมุนไพร สอดคล้องกับนโยบาย สมุนไพร [14-17] ซึ่งมุมมองนี้อาจเป็นอุปสรรคต่อการน�า
ขององค์การอนามัยโลกที่ส่งเสริมให้มีการสร้างองค์ ไปปฏิบัติและบูรณาการการแพทย์แผนไทยในโรง
ความรู้และมาตรฐานด้านการแพทย์ดั้งเดิมในการ พยาบาล โดยเฉพาะอย่างยิ่งการรวมยาสมุนไพรไว้
บูรณาการดูแลสุขภาพในระบบสุขภาพจนน�าไปสู่ ในรายชื่อยาของโรงพยาบาล ดังนั้น จึงมีความจ�าเป็น
การผลักดันเข้าหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ทั้งนี้ ต้องเพิ่มความเข้าใจเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทย การ
[11]
สถานการณ์การดูแลผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายด้วยการ ใช้สมุนไพร และขั้นตอนการให้บริการทางการแพทย์
แพทย์แผนไทยและสมุนไพรของประเทศไทย ในส่วน แผนไทย ตลอดจนการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ที่น�า
ของระบบบริการด้านการแพทย์แผนไทยมีการให้บริการ มาสนับสนุนการใช้แพทย์แผนไทยและสมุนไพรใน
โดยแพทย์แผนไทยเป็นหลัก แม้ว่าแพทย์แผนไทย การรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็ง แม้ว่ายาสมุนไพรจะถูก
จะสามารถให้บริการทั้งผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน แต่ น�ามาใช้ในการรักษาโรคต่าง ๆ มาเป็นระยะเวลานาน
แพทย์แผนไทยไม่สามารถดูแลผู้ป่วยในรูปแบบของ แต่หลักฐานการวิจัยทางคลินิกของสมุนไพรยังไม่
[18]
การให้บริการแบบผู้ป่วยในได้หากไม่ได้รับการสั่ง เพียงพอ อีกทั้งแพทย์แผนไทยส่วนใหญ่ยังขาด
การรักษาแบบผู้ป่วยในจากแพทย์แผนปัจจุบัน ดัง ประสบการณ์ในการท�างานและต้องการการศึกษาและ
นั้น ผู้ป่วยมะเร็งส่วนใหญ่จึงได้รับบริการด้านการ การฝึกอบรมเพิ่มเติม การพัฒนาความสามารถของ
แพทย์แผนไทยแบบผู้ป่วยนอก ส�าหรับการดูแล ผู้ให้บริการเป็นปัจจัยส�าคัญที่เอื้อต่อการดูแลผู้ป่วย
ผู้ป่วยมะเร็งในรูปแบบของผู้ป่วยในที่มีการบูรณาการ อย่างมีประสิทธิผล จ�าเป็นต้องมีการฝึกอบรมและเผย
ด้วยการแพทย์แผนไทยของประเทศไทยเมื่อเปรียบ แพร่ข้อมูลการดูแลผู้ป่วยโรคมะเร็ง
เทียบกับประเทศอื่น ๆ ก็เช่นเดียวกัน ที่มุ่งเน้นไปทาง ด้านการเงิน งบประมาณ นโยบาย และการ
แพทย์แผนปัจจุบันมากกว่า โดยให้ความส�าคัญของ บริหาร มักสอดคล้องไปด้วยกัน ซึ่งกระทรวง
แพทย์แผนปัจจุบันมากกว่า [12-13] สาธารณสุขของประเทศไทยตอบสนองนโยบาย
ด้านก�าลังคน ศักยภาพบุคลากร ข้อมูลทาง ภายใต้ความรับผิดชอบหลักของกรมการแพทย์
วิชาการ งานวิจัย และยาสมุนไพร ในการผสมผสาน แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ด้วยการก�าหนด
ของการแพทย์แผนไทยและการแพทย์แผนปัจจุบัน นโยบายสนับสนุนการบูรณาการการแพทย์แผนไทย
ได้รับการยอมรับอย่างมากจากผู้ป่วยมะเร็งและผู้ และสมุนไพรเข้ากับการดูแลสุขภาพกระแสหลักที่
ปฏิบัติงานทีมแพทย์แผนไทย แต่ในขณะเดียวกันที่ ใช้การแพทย์แผนปัจจุบัน โดยที่สอดคล้องกับการ
ผู้ปฏิบัติงานทีมสหวิชาชีพยังสงสัยหรือมีข้อค�าถาม รายงานนโยบายด้านการแพทย์แผนไทยแห่งชาติ
ในเรื่องของประสิทธิผลเนื่องจากยังขาดหลักฐานทาง ของประเทศไทยที่ได้ระบุว่ามีการก�าหนดวิธีการรักษา
วิทยาศาสตร์ที่สนับสนุน เช่นเดียวกันกับประเทศอื่น ๆ ด้วยสมุนไพรมากขึ้น และการบูรณาการของการ
ที่แพทย์แผนปัจจุบันและทีมสหวิชาชีพ จะมีความรู้ แพทย์แผนไทยกับยาแผนปัจจุบันมีความก้าวหน้า
และความเชื่อมั่นที่น้อยในเรื่องของประสิทธิผลของ อย่างต่อเนื่อง โรงพยาบาลหลายแห่งในประเทศไทย