Page 119 - J Trad Med 21-1-2566
P. 119

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 21  No. 1  Jan-Apr  2023  99




            ได้พัฒนาเครื่องมือการบริหารของตนเองเพื่อบูรณา  ดันท�าให้เกิดแรงขับเคลื่อนภายในองค์กร โดยมีการ
            การการแพทย์แผนไทยและการแพทย์แผนปัจจุบัน     พัฒนารูปแบบการดูแลหรือวิธีการปฏิบัติของแพทย์

            อย่างไรก็ตามยังพบปัญหาหรืออุปสรรคที่ไม่อาจ  แผนไทยโดยใช้หลักการธรรมานามัยร่วมกับการใช้
            มุ่งไปสู่ความส�าเร็จได้ทุกโรงพยาบาล [19–22]  หนึ่งใน  กระบวนการมีส่วนร่วมกับทีมแพทย์แผนปัจจุบันที่
            ปัญหาหรืออุปสรรค คือ ด้านการเงินและงบประมาณ   เป็นมาตรฐานในการดูแลผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย

            ที่มีการจัดสรรในการด�าเนินงาน แต่ไม่อาจสามารถ  ที่ชัดเจน โดยมีผังการไหลของงาน (work flow) ที่
            ครอบคลุมค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่เกี่ยวข้องได้ ท�าให้  สามารถดูแลผู้ป่วยได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้
            โรงพยาบาลประสบปัญหาขาดแคลนงบประมาณ          ทีมผู้ให้บริการมีความพึงพอใจต่อรูปแบบการดูแลผู้

            สนับสนุนอย่างเพียงพอ แต่ในขณะเดียวกันหากมี  ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายในภาพรวมในระดับมาก ซึ่ง
            การจัดสรรการด�าเนินงานที่ดี และวัดจากสุขภาวะของ   สอดคล้องกับหลักการดูแลรักษาที่พบว่าการดูแล
            ผู้ป่วยที่มารับบริการที่มีความสุขสบายขึ้น รวมทั้งการ  รักษาผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายให้มีประสิทธิภาพ

            ที่ผู้ป่วยมีสิทธิในการตัดสินใจเลือกการรักษาชีวิตของ  ต้องอาศัยการท�างานเป็นทีมของบุคลากรหลายฝ่าย
            เขา มันคุ้มค่ากับงบประมาณที่ลงทุน ซึ่งจากการศึกษา  ประกอบกัน ร่วมกันให้ความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ

            ของการแพทย์แผนจีนในประเทศจีนที่มีการบูรณาการ  แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ตลอดจนปรึกษา
            กับแพทย์แผนปัจจุบัน พบว่า การน�าการแพทย์แผนจีน   การดูแลรักษาร่วมกันจึงจะประสบความส�าเร็จอย่าง
                                                         [23]
            ไปใช้ในโรงพยาบาลในประเทศจีนได้เพิ่มรายได้ให้  ดี  ซึ่งการดูแลผู้ป่วยที่เป็นระบบมีความครอบคลุม
            กับโรงพยาบาล แม้ว่ารายได้จากกระบวนการแพทย์  ในทุกด้านทั้งกาย จิตใจ ปัญญาและสังคม  โดยที่
            แผนปัจจุบันจะมีสัดส่วนที่มากกว่าการแพทย์แผนจีน   ไม่มุ่งเน้นเฉพาะทางกายแบบที่เคยเป็นมา ย่อมส่ง

             แต่รายได้ของการแพทย์แผนจีนมีอัตราการเติบโต  ผลให้อาการหรือคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยดีขึ้น โดย
                       [12]
            ต่อปีที่เร็วกว่า  สิ่งนี้บ่งบอกถึงความจ�าเป็นของโรง  สอดคล้องกับการศึกษาของระวีวรรณ พิไลยเกียรติ
            พยาบาลที่มีการให้บริการด้านการแพทย์แผนไทย   และคณะ ที่พบว่า การให้ความส�าคัญของการดูแล

            ในการประเมินและพัฒนาแผนการด�าเนินงาน และ    ผู้ป่วยในทุก ๆ ด้าน โดยเฉพาะด้านจิตใจ คือ การ
            กลยุทธ์การจัดการทางด้านการเงินและงบประมาณ   เสริมสร้างความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองของผู้ป่วยและ
            สุดท้ายปัจจัยที่ส�าคัญที่สุดที่น�าไปสู่การบูรณาการที่  ท�าให้ยอมรับสภาพของตนเองได้ รวมถึงการดูแลเพี่อ

            ประสบความส�าเร็จ คือ ความเป็นผู้น�า ของผู้น�าองค์กร  บรรเทาอาการรบกวน และความทุกข์ทรมานจากอาการ
            ที่ต้องมีนโยบายที่ชัดเจน ผลักดันงานให้เป็นที่รู้จัก   ที่เกิดขึ้น จากการเจ็บป่วย หรือการด�าเนินของโรค
            และสนับสนุนการด�าเนินงานในทุก ๆ ด้าน        ผู้ป่วยได้รับการดูแลรักษาอย่างมีประสิทธิภาพอย่าง

                 การพัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยมะเร็งระยะ  ต่อเนื่อง ทั้งตลอดระยะเวลาที่รับไว้ในความดูแลรักษา
            สุดท้ายด้วยการแพทย์แผนไทยและสมุนไพร ได้รูป  และเมื่อกลับไปอยู่บ้าน [24]

            แบบการดูแลผู้ป่วยที่เป็นแบบแผนมีกระบวนการ
            เนื่องจากการมีส่วนร่วมจากทีมสหวิชาชีพและได้รับ              ข้อสรุป
            การสนับสนุนจากทีมผู้บริหารขององค์กรเข้ามาผลัก     การพัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยมะเร็งระยะ
   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124