Page 115 - J Trad Med 21-1-2566
P. 115

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 21  No. 1  Jan-Apr  2023  95




            (ร้อยละ 36.70) และปริญญาตรี 35 คน (ร้อยละ 63.30)        1.1 การประเมินประสิทธิผลการน�ารูปแบบ
            ตามล�าดับ


            ตารางที่ 2  ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับความเป็นไปได้ของของกลุ่มตัวอย่างทีมสหวิชาชีพ ผู้ใช้รูปแบบใน
                     การดูแลรักษาผู้ป่วย จ�าแนกตามระดับความเป็นไปได้ในการน�ารูปแบบไปใช้โดยรวม (n = 55)

                                                                                     ระดับความ
             ลําดับ  ความเป็นไปได้ในการนํารูปแบบไปใช้                   Mean ± S.D.
                                                                                     เป็นไปได้

             1      มีความสะดวกและง่ายต่อการน�าไปใช้                    2.22 ± 0.65   ปานกลาง
             2      มีความชัดเจนของข้อเสนอแนะในแนวปฏิบัติ               2.81 ± 0.63   มาก
             3      มีความเหมาะสมต่อการน�าไปใช้ในหน่วยงาน               2.71 ± 0.54   มาก

             4      ประหยัด ลดต้นทุนด้านก�าลังคน เวลา และงบประมาณ       2.75 ± 0.73   มาก
             5      รูปแบบการดูแลรักษาสามารถแก้ปัญหาและเกิดผลดีต่อผู้รับบริการ   2.96 ± 0.77   มาก
             6      ความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติที่จะน�าไปใช้ในหน่วยงาน    2.89 ± 0.55   มาก
                                                                รวม     2.80 ± 0.76  มาก




            ที่ได้รับการพัฒนาขึ้นไปใช้ พบว่า มีระดับความเป็นไป  การแพทย์แผนไทยและสมุนไพร ก่อนและหลังพัฒนา

            ได้ในภาพรวมระดับมาก (ตารางที่ 2)            ระบบ พบว่า ความพึงพอใจของทีมสหวิชาชีพต่อ
                   1.2 ความพึงพอใจของทีมสหวิชาชีพต่อ    ระบบการดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายด้วย
            ระบบการดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย ด้วย  การแพทย์แผนไทยและสมุนไพรหลังการพัฒนาระบบ



            ตารางที่ 3  เปรียบเทียบความพึงพอใจของสหวิชาชีพต่อรูปแบบการดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย ด้วยการแพทย์
                     แผนไทยและสมุนไพร (n = 55)


             การประเมิน                          Mean ± S.D.     t-test         df      p-value
             ก่อนพัฒนารูปแบบ                     3.02 ± 0.22     10.23         35       0.001*
             หลังพัฒนารูปแบบ                     4.12 ± 0.18






            สูงกว่าก่อนพัฒนาระบบอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่  หญิง 17คน (ร้อยละ 56.67) เพศชาย 13 คน (ร้อยละ
            ระดับ 0.05 (ตารางที่ 3)                     43.33) มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป 14 คน (ร้อยละ 46.67)
                 2. ด้านผู้รับบริการ                    ส�าเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษา 12 คน (ร้อยละ

                 ผู้ป่วย กลุ่มตัวอย่าง จ�านวน 30 คน เป็นเพศ  40.00) ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์แผนปัจจุบันว่า
   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120