Page 92 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 92
506 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
เฮกเซนไมสามารถยับยั้งการสรางไนตริกออกไซด ใน ทําละลายมีอัตราการรอดชีวิตของเซลลตํ่ากวารอยละ
การคํานวณคา IC 50 ไมไดนําคาเปอรเซ็นตการยับยั้งที่ 80 แสดงวาที่ความเขมขน 100 ไมโครกรัมตอมิลลิลิตร
ความเขมขน 100 ไมโครกรัมตอมิลลิลิตร มาคํานวณ มีความเปนพิษตอเซลล ATDC-5 (ตารางที่ 3)
เนื่องจากที่ความเขมขนดังกลาวของสารสกัดทุกตัว
ตารางที่ 3 ฤทธิ์ยับยั้งก�รสร้�งไนตริกออกไซด์ในเซลล์ ATDC-5 ของส�รสกัดจ�กตำ�รับย�บำ�รุงไขข้อ
สารสกัด ร้อยละการยับยั้งการสร้างไนตริกออกไซด์ที่ความเข้มข้นต่าง ๆ (mg/ml) IC 50
3.125 6.25 12.50 25.00 50.00 mg/ml
เฮกเซน ไม่ได้ทดสอบ ไม่ได้ทดสอบ ไม่ได้ทดสอบ ไม่ได้ทดสอบ ไม่ได้ทดสอบ ไม่ได้ทดสอบ
เอทิลอะซิเตท 6.7669 ± 0.04 13.1579 ± 0.07 17.2181 ± 0.09 29.0978 ± 0.10 56.0150 ± 0.26 44.4916
เอท�นอล 11.0526 ± 0.11 12.7068 ± 0.05 16.4661 ± 0.03 23.1578 ± 0.04 56.0150 ± 0.13 46.7576
นำ้� 7.6692 ± 0.08 10.2255 ± 0.10 11.0526 ± 0.03 13.4587 ± 0.07 18.3458 ± 0.02 > 50
L-NA 25.0550 ± 0.37 36.6550 ± 0.13 51.7200 ± 0.59 60.8400 ± 0.38 81.8350 ± 0.43 18.2744
*ค่� IC 50 ของตัวอย่�งทดสอบน้อยกว่�อย่�งมีนัยสำ�คัญเมื่อเปรียบเทียบกับ L-NA ที่ p < 0.05
อภิปรำยผล อิสระ ABTS เปนวิธีที่ใชทดสอบฤทธิ์ในการกําจัด
+
˚
การทดสอบฤทธิ์ตานอนุมูลอิสระในครั้งนี้ อนุมูลอิสระชนิดเปอรออกซี เนื่องจาก ABTS เปน
+
˚
เลือกการทดสอบคุณสมบัติในการเปนตัวขจัดอนุมูล อนุมูลอิสระที่สลายตัวในอนุมูลเปอรออกซี ซึ่งการ
อิสระ (free radical scavenging) ดวยวิธี 2,2´-azi- ทดสอบทั้ง 2 วิธีนี้ ทําปฏิกิริยาในตัวกลางที่เปนสาร
no-bis-(3-ethylbenzthiazoline-6-sulphonic อินทรีย (organic solvent) แตเซลลในรางกายมนุษย
acid) (ABTS) radical scavenging assay และ อยูในตัวกลางที่เปนนํ้า หรือมีโครงสรางที่ประกอบ
2,2-diphenyl-1-picryl hydrazyl (DPPH) radical ดวยนํ้า เพราะฉะนั้นควรมีการศึกษาฤทธิ์ในการตาน
scavenging assay ซึ่งเปนวิธีที่ทําไดงาย สะดวก อนุมูลอิสระในตัวกลางที่เปนนํ้าดวย สารประกอบ
และรวดเร็ว เนื่องจาก ABTS และ DPPH เปนอนุมูล ฟีนอลิกเปนสารประกอบที่มีวงเบนซีนเปนองคประกอบ
อิสระที่คอนขางเสถียร โดยอนุมูล DPPH เปน และมีหมูแทนที่เปน hydroxyl group อยางนอย 1
[16]
˚
อนุมูลไนโตรเจนที่มีความคงตัว มีสีมวงอยูในรูป หมู ทําใหมีความเปนขั้วสูง จึงสามารถสกัดดวยตัวทํา
อนุมูลอิสระอยูแลว ไมตองทําปฏิกิริยาใหเกิดอนุมูล ละลายที่มีขั้ว เชน เอทานอล และเอทิลอะซิเตท และ
เปนการวัดความสามารถของสารสกัดในการกําจัด พบวาสารประกอบฟีนอลิกเปนสารตานออกซิเดชัน
อนุมูลอิสระโดยวิธีใหไฮโดรเจนอะตอม ซึ่งเปนวิธี ที่มีประสิทธิภาพดี [17-19] จากการศึกษาพบวาการสกัด
เบื้องตนที่นิยมใชในการทดสอบฤทธิ์ตานอนุมูลอิสระ สารดวยตัวทําละลายที่แตกตางกัน จะทําใหสารสกัด
โดยทั่วไป สวนการทดสอบฤทธิ์ในการกําจัดอนุมูล ที่ไดมีความสามารถในการตานออกซิเดชันที่แตกตาง