Page 88 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 88

502 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 20  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2565




           เปนสวนประกอบในตํารับมาลางทําความสะอาด แลว  เทียบกับสารมาตรฐานกรดแกลลิค แสดงคาเปน Gal-
           อบใหแหง บดแยกแตละชนิดใหเปนผงบดหยาบแลว  lic acid equivalent (GAE) [12-13]  ทํา 5 ตัวอยาง

           นํามาผานแรงเบอร 60 นําผงบดหยาบผสมกันตาม      2.3  การทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระโดยวิธี
           อัตราสวนเปนตํารับยาบํารุงไขขอ แลวชั่งตัวอยาง 100   ABTS radical scavenging Assay
           กรัม แยกสกัดดวยตัวทําละลายตาง ๆ ชนิดละ 1,000          2.3.1 เตรียมสารละลายวิตามินอีความ

           มิลลิลิตร ไดแก นํ้า โดยการเติมนํ้าแลวตมจนปริมาตร  เขมขน 0-50 mg/ml โดยใชเอทานอล 70% เปนตัว
           ลดลงเหลือ 1 ใน 3 สวนตัวทําละลายอีก 3 ชนิด ไดแก   ทําละลาย
           เอทานอล 95% เอทิลอะซิเตท และ เฮกเซน แชเปน         2.3.2 เตรียมสารละลายของสารสกัดความ

           เวลา 7 วัน คนวันละ 1 ครั้ง แลวกรองผานผาขาวบาง  เขมขน 1 mg/ml โดยใช propylene glycol เปนตัวทํา
           และกระดาษกรองเบอร 1 นําสารสกัดมาระเหยตัว   ละลาย แลวเจือจางใหไดความเขมขน 50, 100, 200,
           ทําละลายออกโดยใชเครื่องกลั่นระเหยสุญญากาศ   400 และ 800 mg/ml ดวยเอทานอล 70%

           (rotary evaporator) [12-13]                         2.3.3 เตรียม positive control โดยใช
                2.2  การหาปริมาณสารประกอบฟีนอลิกรวม    เอทานอล 70% เปนตัวทําละลาย

                    2.2.1 เตรียมสารละลายมาตรฐานกรด             2.3.4 เตรียมสารละลาย 7 mM ABTS
           แกลลิคความเขมขน 50-100 mg/ml โดยใชเอทานอล   โดยใชนํ้าเปนตัวทําละลาย
           70% เปนตัวทําละลาย                                 2.3.5 เตรียมสารละลาย 2.45 mM potas-

                    2.2.2  เตรียมสารละลายของสารสกัดความ  sium persulfate โดยใชนํ้าเปนตัวทําละลาย
           เขมขน 10 mg/ml โดยใช propylene glycol เปนตัว         2.3.6  เตรียมสารละลายอนุมูลอิสระ

           ทําละลาย แลวเจือจางใหไดความเขมขน 2 mg/ml   ABTS โดยปิเปตสารละลาย 7mM ABTS และ 2.45
           ดวยเอทานอล 70%                             mM potassium persulfate มาอยางละ 2.5 ml บม
                    2.2.3 เตรียม positive control โดยใช   ในที่มืด ที่อุณหภูมิหองเปนเวลา 16 ชั่วโมง แลวเจือ

           20% propylene glycol ในเอทานอล 70% เปนตัวทํา  จางดวยเอทานอล 95%
           ละลายสําหรับสารสกัด และเอทานอล 70% เปนตัวทํา         2.3.7 ปิเปตสารละลายในขอ 2.3.2 จํานวน
           ละลาย                                       50 ml และสารละลายในขอ 2.3.6 จํานวน 950 ml ลง

                    2.2.4  ปิเปตสารละลายในขอ 2.2.2 จํานวน   ใน microtube ขนาด 2,000 ml ผสมใหเขากันแลว
           100 ml และสารละลาย 10%v/v Folin-Ciocalteu   ตั้งในที่มืด ที่อุณหภูมิหองเปนเวลา 30 นาที แลว
           จํานวน 200 ml ลงใน microtube ขนาด 2,000 ml   ปิเปตสารที่บมแลวมา 200 ml ใส 96 well plate วัดคา

           บมเปนเวลา 5 นาที เติมสารละลาย 0.7 M sodium   การดูดกลืนแสงที่ 734 นาโนเมตร ดวย microplate
           carbonate 800 ml ผสมใหเขากัน แลวตั้งในที่มืด ที่  reader โดยเทียบกับสารมาตรฐานวิตามินอี แสดงคา

           อุณหภูมิหองเปนเวลา 2 ชั่วโมง แลวปิเปตสารที่บม  เปน vitamin E equivalent antioxidant capacity
                                                             [13]
           แลวมา 200 ml ใส 96 well plate วัดคาการดูดกลืน  (EEAC)  ทํา 5 ตัวอยาง
           แสงที่ 765 นาโนเมตร ดวย microplate reader โดย     2.4  การทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ โดยวิธี
   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93