Page 90 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 90
504 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
3.125, 6.25, 12.5, 25, 50 และ 100 ไมโครกรัม 100 ไมโครลิตร (เตรียมจาก 10 กรัม SDS + 83.7
ตอมิลลิลิตร เพื่อหาคาความเขมขนของตัวอยางที่ ไมโครลิตร กรดไฮโดรคลอลิค ปรับปริมาตรเปน 100
สามารถยับยั้งไนตริกออกไซดที่รอยละ 50 (IC 50) โดย ไมโครลิตร ดวยนํ้ากลั่น) เพื่อละลายผลึก formazan
การทดลองนี้จะทําการทดลองซํ้าจํานวน 3 ครั้งตอ 1 แลวนําไปวัดการดูดกลืนแสงที่ความยาวคลื่น 550
ตัวอยาง โดยสารมาตรฐานที่ใช คือ L-nitroarginine นาโนเมตร ดวย microplate reader (โดยสารที่
(L-NA) คํานวณรอยละการยับยั้งการสรางไนตริก- ทดสอบจะถือวามีความเปนพิษตอเซลลเมื่อคารอย
ออกไซด การวัดปริมาณของไนตริกออกไซดที่หลั่ง ละการรอดชีวิตนอยกวารอยละ 80 เมื่อเทียบกับกลุม
[15]
ออกมา วัดในรูปของไนไตรท เนื่องจากไนตริกออกไซด ควบคุม)
ที่หลั่งออกมาจะทําปฏิกิริยากับออกซิเจน ไดเปน
dinitrogen tetraoxide และเมื่อทําปฏิกิริยาตอ ผลกำรศึกษำ
กับนํ้าจะไดผลิตภัณฑคือไนเตรท และไนไตรท การสกัดตํารับยาบํารุงไขขอดวยตัวทําละลาย
ซึ่งไนไตรทจะทําปฏิกิริยากับ sulfanilamide ใน ตาง ๆ ไดแก นํ้า เอทานอล เอทิลอะซิเตท และเฮกเซน
สารละลายที่เปนกรดไดเปนสารตัวกลางที่เปนเกลือ ไดนํ้าหนักสารสกัดแหงเทากับ 54.9734, 38.2612,
diazonium ซึ่งสารตัวกลางนี้จะทําปฏิกิริยา N-(1- 21.5723 และ 4.2564 กรัม ตามลําดับ ซึ่งคิดเปน
naphthyl) ethylenediamine dihydrocholide รอยละของนํ้าหนักสารสกัดแหงเทียบกับนํ้าหนักเริ่ม
(NED) ไดผลิตภัณฑเปน azo compound ที่มีสีทําให ตนของตํารับกอนการสกัด (% yield) เทากับ 5.50,
สามารถวัดปริมาณไนไตรทที่มีอยูโดยวัดการดูดกลืน 2.16, 3.83 และ 0.98 ตามลําดับ
ของแสงที่ความยาวคลื่น 550 นาโนเมตร [15]
2.6 การทดสอบความเป็นพิษต่อเซลล์ 1. กำรหำปริมำณสำรประกอบฟีนอลิกรวม
การทดสอบความเปนพิษตอเซลล ATDC-5 ผลการตรวจวัดปริมาณสารประกอบฟีนอลิก
mouse chondrogenic cell โดยใชวิธี 3-(4,5-di- รวมของตํารับยาบํารุงไขขอ ที่สกัดดวยตัวทําละลาย
methyl thiazole-2-yl)-2,5-diphenyltetrazolium ตาง ๆ ไดแก นํ้า เอทานอล เอทิลอะซิเตท และเฮกเซน
bromide (MTT) Assay ซึ่งหลักการศึกษาจะอาศัย พบวา สารสกัดดวยเอทิลอะซิเตท มีปริมาณสาร
เอนไซมภายในไมโทคอนเดรียของเซลลที่มีชีวิตรีดิวส ประกอบฟีนอลิกรวมสูงสุด และสารสกัดดวยนํ้ามี
MTT ที่เปนสารสีเหลืองใหเปนผลึก formazan สีมวง ปริมาณสารประกอบฟีนอลิกรวมตํ่าสุด โดยมีคา
หลังจากทดสอบสารตัวอยางกับเซลลในตู CO 2 incu- gallic acid equivalent (GAE) เทากับ 4.82 และ
bator ที่มีปริมาณ CO 2 อยูรอยละ 5 อุณหภูมิ 37˚ซ. 2.30 มิลลิกรัมสมมูลของกรดแกลลิคตอกรัมตาม
เปนเวลา 24 ชั่วโมง จากนั้นเติมสารละลาย MTT (10 ลําดับ เมื่อวิเคราะหขอมูลทางสถิติ โดยการทดสอบ
ไมโครลิตร 5 มิลลิกรัมตอมิลลิลิตร) ลงไปในแตละ ความแปรปรวนแบบทางเดียว (one-way ANOVA)
หลุมแลวบมตอใน CO 2 incubator ที่มีปริมาณ CO 2 พบวาสารที่สกัดดวยตัวทําละลายทั้ง 4 ชนิด มีคาเฉลี่ย
อยูรอยละ 5 อุณหภูมิ 37˚ซ. เปนเวลา 4 ชั่วโมง จาก GAE แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ
นั้นดูดสารละลายทิ้งไปแลวเติมตัวทําละลายผลึก ความเชื่อมั่นรอยละ 95 (ตารางที่ 2)