Page 85 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 85

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 20  No. 3  Sep-Dec  2022  499




            สนองตอสิ่งแปลกปลอมบางชนิดก็ได ขึ้นกับปจจัย   ไนตริกออกไซดมีความสามารถทําปฏิกิริยากับ
            หลาย ๆ ดาน ลักษณะสําคัญของการอักเสบเรื้อรัง   โมเลกุลอื่นสูงมาก มีบทบาทสําคัญในการสงสัญญาณ

            คือ มีการสรางเนื้อเยื่อพังผืดขึ้น (fibrosis) มีการสราง  ที่เกี่ยวของกับขั้นตอนทางสรีรวิทยา เชน กลไกการ
            หลอดเลือดขึ้นจํานวนมาก และพบเซลลอักเสบชนิด   ป้องกันของรางกาย การคลายตัวของกลามเนื้อเรียบ
            macrophages และ lymphocytes ลักษณะทาง       หรือการควบคุมภูมิคุมกัน ไนตริกออกไซดละลายได

            คลินิิกของการอักเสบ โดยเฉพาะการอักเสบเฉียบพลัน   ในของเหลวและไขมันและสามารถแพรผานนํ้า จะได
            จะประกอบอาการหลัก 4 อาการ คือ ปวด บวม แดง   เปนอนุมูลไนเตรทและไนไตรท เซลลที่ทําหนาที่ใน
                    [1]
            และรอน  ปฏิกิริยาการอักเสบที่เกิดขึ้นในเซลล  ระบบภูมิคุมกันก็สามารถสรางอนุมูลไนตริกออกไซด
            แมคโครฟาจซึ่งเปนเซลลเม็ดเลือดขาวชนิดหนึ่งจะ  ระหวางขั้นตอนการอักเสบ และอนุมูลไนตริก-
            หลั่งสารสื่อ (chemical mediators) ในการอักเสบ  ออกไซดจะทําปฏิกิริยากับอนุมูลซุปเปอรออกไซดได
            ชนิดตาง ๆ เชน ไนตริกออกไซด พรอสตาแกลนดิน E2   อนุมูลเปอรออกซิลไนไตรท ที่มีความสามารถในการ

                             [2-3]
            และไซโตไคน เปนตน  การหลั่งสารสื่อการอักเสบ  ทําปฏิกิริยาสูงมาก สามารถทําใหเกิดการแตกหักของ
            ตาง ๆ ในปริมาณมากเกินไปจะทําใหมีการทําลาย  ดีเอ็นเอ (DNA fragmentation) และเกิดภาวะเครียด

                                                                 [7]
            เนื้อเยื่อ หรือหลั่งเปนระยะเวลาตอเนื่องเกี่ยวของกับ  ออกซิเดชัน  โดยพบวาระดับของไนตริกออกไซดที่
            การเกิดพยาธิวิทยาของโรคตาง ๆ เชน โรคกระเพาะ   สูงขึ้นในเซลลกระดูกออนมีผลตอการเกิดการเสื่อม
            และลําไสอักเสบ โรคขออักเสบรูมาตอยด โรคอัลไซเมอร   สลายของกระดูกออนที่ผิวขอในโรคขอเขาเสื่อม
                                                                                             [8-9]
            โรคพารกินสัน ภาวะช็อกจากการติดเชื้อ โรคเบาหวาน      โรคขอเขาเสื่อม (osteoarthritis) เปนสาเหตุ
            และโรคอักเสบตาง ๆ [2,4-5]  การยับยั้งการหลั่งสาร  อันดับแรกของอาการปวดขอในคนอายุมากกวา 40

            สื่อการอักเสบ เชน ไนตริกออกไซด และพรอสตา-  ปีขึ้นไป หรือหลังวัยหมดประจําเดือน พบในผูหญิง
            แกลนดิน E2 ที่มากเกินไปนี้ เปนทางหนึ่งที่จะชวย  มากกวาผูชายประมาณ 3 เทา เปนโรคเรื้อรังที่ไมคอย
            ป้องกันและรักษาโรคตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการอักเสบ  มีโรคแทรกซอนที่อันตรายรายแรง สาเหตุเกิดจากขอ

            ได ปจจุบันมีความพยายามในการคนหาโมเลกุล   เสื่อมตามวัย หรือขอรับนํ้าหนักมากเกินไป หรือมีการ
            สารจากธรรมชาติที่สามารถลดการผลิตสารสื่อการ  บาดเจ็บทําใหกระดูกออนตรงผิวขอตอสึกกรอนและมี
            อักเสบเหลานี้เพื่อนําไปสูการผลิตยาตานการอักเสบ  กระดูกงอก (หินปูนเกาะ) ขรุขระ เวลาเคลื่อนไหวขอ

            ที่มีประสิทธิผลสูง และมีผลขางเคียงตํ่า ซึ่งพืชเปน  จึงทําใหเกิดอาการปวดขัดในขอ อาจมีสาเหตุมาจาก
            แหลงสําคัญของสารประกอบฟีนอลที่แสดงฤทธิ์ตาน  กรรมพันธุ อายุมาก ความอวน อาชีพที่ตองใชขอมาก
                  [6]
            อักเสบ                                      เปนตน การรักษาใหแอสไพรินหรืออินโดเมทาซิน [10]
                 อนุมูลไนตริกออกไซด เปนโมเลกุลขนาดเล็ก  โรคปวดขอรูมาตอยด (rheumatoid arthritis) เปน
            ซึ่งมีอิเล็กตรอนไมอยูเปนคู สรางขึ้นในเนื้อเยื่อ โดย  โรคเรื้อรังประเภทหนึ่งพบไดประมาณรอยละ 1-3 ของ

            อาศัยเอนไซมไนตริกออกไซดซินเตส เกี่ยวของกับ  คนทั่วไป พบในผูหญิงมากกวาผูชายประมาณ 4-5 เทา
            กระบวนการเมทาบอไลซของอารจินีน ไปเปนซิทูลลิน    และพบมากในชวงอายุ 20-50 ปี แตพบไดในคนทุก
            และมีการสรางอนุมูลไนตริกออกไซดขึ้น อนุมูล   เพศทุกวัย สาเหตุของโรคนี้พบวามีการอักเสบเรื้อรัง
   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90