Page 83 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 83

วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก  Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine
                      ปีที่ 20  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม  2565   Vol. 20  No. 3  September-December  2022




                                                                                 นิพนธ์ต้นฉบับ



            ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและฤทธิ์ยับยั้งการสร้างไนตริกออกไซด์

            ของตำารับยาบำารุงไขข้อ



            รัตติยา ตั้งบูชาเกียรติ
            วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต ตำาบลหลักหก อำาเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี 12000
            ผู้รับผิดชอบบทความ:  rattiya.t@rsu.ac.th









                                                 บทคัดย่อ

                    โรคข้อเข่าเสื่อมและโรคปวดข้อรูมาตอยด์ เป็นสาเหตุของอาการปวดข้อในคนอายุมากกว่า 40 ปี และเป็นโรค
               เรื้อรังที่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิต การศึกษานี้สนใจน�าต�ารับยาบ�ารุงไขข้อในคัมภีร์โรคนิทานและคัมภีร์ธาตุวิภังค์
               จากต�าราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ มาศึกษาหาปริมาณสารประกอบฟีนอลิกรวม ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ฤทธิ์ต้านการ
               อักเสบ และทดสอบความเป็นพิษต่อเซลล์กระดูกอ่อนหนู ATDC-5 โดยน�าต�ารับยามาสกัดด้วยตัวท�าละลายต่าง ๆ
               ได้แก่ น�้า เอทานอล เอทิลอะซิเตท และเฮกเซน ปริมาณสารประกอบฟีนอลิกรวมพบว่า สารสกัดเอทิลอะซิเตท มี
               ปริมาณสูงสุด และสารสกัดน�้ามีปริมาณต�่าสุด (GAE = 4.1218 และ 2.3001 mg GAE/g ตามล�าดับ) ผลการทดสอบ
               ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระโดย ABTS radical scavenging assay พบว่าสารสกัดเอทานอลมีฤทธิ์สูงสุด และสารสกัดน�้ามี
               ฤทธิ์ต�่าสุด (EEAC = 1.8241 และ 0.0378 mg EEAC/g ตามล�าดับ) ซึ่งผลสอดคล้องกับ DPPH radical scavenging
               assay โดยเปรียบเทียบกับสารมาตรฐานวิตามินอี คือสารสกัดเอทานอลมีฤทธิ์สูงสุด และสารสกัดน�้ามีฤทธิ์ต�่าสุด (IC 50 =
               0.0749 และ 1.4145 mg/ml ตามล�าดับ) ผลการทดสอบฤทธิ์ยับยั้งการสร้างไนตริกออกไซด์ พบว่าสารสกัดเอทิลอะซิเตท
               มีฤทธิ์ยับยั้งได้ดีที่สุด (IC 50 = 44.4961 mg/ml) สารสกัดเฮกเซนทุกความเข้มข้นไม่มีฤทธิ์ยับยั้ง การทดสอบความเป็น
               พิษต่อเซลล์ ATDC-5 พบว่าสารสกัดน�้า เอทานอล เอทิลอะซิเตท ที่ความเข้มข้นสูงสุด 50 mg/ml ไม่เกิดความเป็นพิษ
               ต่อเซลล์ ผลการศึกษานี้สรุปได้ว่า เอทิลอะซิเตท และเอทานอล เป็นตัวท�าละลายที่เหมาะสมส�าหรับสกัดสารที่มีฤทธิ์
               ต้านอนุมูลอิสระ และมีฤทธิ์ยับยั้งการสร้างไนตริกออกไซด์ได้ เป็นหลักฐานทางวิทยาศาสตร์สนับสนุนสรรพคุณของ
               ต�ารับยาบ�ารุงไขข้อในการช่วยบรรเทาอาการข้อเข่าเสื่อมและโรคปวดข้อรูมาตอยด์

                    ค�ำส�ำคัญ:  ต้านอนุมูลอิสระ, ต้านการอักเสบ, ยาบ�ารุงไขข้อ, ยับยั้งไนตริกออกไซด์, ATDC-5cells











            Received date 18/04/22; Revised date 10/09/22; Accepted date 30/11/22


                                                    497
   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88