Page 70 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 70
484 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
Development of Pandanus amaryllifolius Extract Pellets for Dental Plaque
Disclosing
Kittichote Worachotekamjorn , Sittasart Rattanarat, Anawat Leelasuthanont
*
Department of Pharmaceutitcal Technology, Faculty of Pharmaceutical Sciences, Prince of Songkhla University,
Kho Hong Sub-District, Hat Yai District, Songkhla 90110, Thailand
* Corresponding author: kittichote.w@psu.ac.th
Abstract
This study aimed to develop natural plaque disclosing pellets containing extract of Pandanus amaryllifolius
leaves. The green extract was obtained from water extraction without heating and then freeze-dried. Pandan pellets
containing pandan extract and various fillers were then prepared by the extrusion-spheronization method. Suitable
pellet formulations were chosen based on their sphericity as well as plaque-disclosing abilities, tested for disintegra-
tion and friability, and kept at ambient temperature for a 1-month stability study. The results showed that the type
of fillers influenced the sphericity and plaque-disclosing abilities of pandan pellets. Mordant also influenced the
plaque-disclosing ability. The formulation containing 15% pandan extract, a blend of Avicel RC-591 and Avicel
PH101 (70:30) and 10% alum gave satisfactory pellets disintegrated readily; and the friability test result was less
than 1%. The pandan pellets exhibited no physical changes, and their chlorophyll content remained higher than
90% after 1-month storage. This study showed promising results for the pandan pellets as a natural disclosing agent
for dental plaque.
Key words: Pandanus amaryllifolius, pandan, pellet, dental plaque, disclosing
บทน�ำและวัตถุประสงค์ ที่มองไม่เห็นของแบคทีเรีย โปรตีนจากน�้าลาย และ
พลัคหรือแผ่นคราบจุลินทรีย์พัฒนามาจาก เอ็กซ์ตร้าเซลลูลาร์โพลีแซคคาไรด์ จากซูโครสซึ่ง
แอคไควร์เพลลิเคิลซึ่งเป็นไกลโคโปรตีนจากน�้าลาย เป็นชั้นหนาของฟิล์มที่สะสมอย่างรวดเร็วบนผิวฟัน
และปราศจากแบคทีเรีย โดยแอคไควร์เพลลิเคิลจะ โดยเอ็กซ์ตร้าเซลลูลาร์โพลีแซคคาไรด์จะเป็นแหล่ง
สร้างขึ้นมาอย่างรวดเร็วจากการสะสมและดูดซึม คาร์โบไฮเดรตหลักส�าหรับเชื้อแบคทีเรียในช่องปาก
โปรตีนน�้าลายที่เคลือบฟันเป็นชั้นบาง ๆ จะเกิดหลัง คราบจุลินทรีย์ไม่สามารถล้างออกโดยน�้าลาย หากสุข
การท�าความสะอาดฟันทุกครั้งเพื่อปกป้องเคลือบฟัน อนามัยในช่องปากไม่ดี จะก่อตัวหนาและมีแบคทีเรีย
จากสิ่งแวดล้อมในช่องปาก แอคไควร์เพลลิเคิลไม่ ที่ก่อให้เกิดโรคมาอาศัยอยู่มากขึ้น คราบจุลินทรีย์
สามารถก�าจัดได้จากการแปรงฟันด้วยน�้า แต่สามารถ สะสมในช่องปากจะก่อให้เกิดโรคฟันผุ โรคเหงือก
ควบคุมการก่อตัวได้โดยการแปรงฟันด้วยยาสีฟันที่มี อักเสบ หรือ โรคปริทันต์ได้ รวมทั้งก่อให้เกิดหินปูน
สารขัดฟัน คราบจุลินทรีย์จะก่อตัวขึ้นอย่างรวดเร็ว จากการสะสมของแคลเซียมและฟอสเฟต ดังนั้นจึง
[1]
หลังการเกิดแอคไควร์เพลลิเคิล โดยเป็นฟิล์มเหนียว จ�าเป็นต้องก�าจัดคราบจุลินทรีย์ โดยทั่วไปคราบ
[2]