Page 74 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 74

488 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 20  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2565




           ต่อปริมาตร (สีย้อมอ้างอิง) เพื่อตรวจสอบต�าแหน่ง  ได้มาประเมินทางสถิติทดสอบค่าเฉลี่ยของประชากร
           คราบจุลินทรีย์ น�าค่าที่ได้มาค�านวณโดยเปรียบเทียบ  2 กลุ่มอิสระต่อกัน (t-test for independent

           พื้นที่ย้อมติดสีคราบจุลินทรีย์บนผิวฟันของตัวอย่าง  sample) ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% หากไม่พบความ
           ที่ต้องการศึกษากับสารละลายเออริโทรซีน โดยท�าซ�้า  แตกต่างอย่างมีนัยส�าคัญ จะแสดงว่าติดสีได้ดีและมี
           จ�านวน 3 โมเดลฟัน (ภาพที่ 1 ก, 1 ข, 1 ค) น�าค่าที่  ประสิทธิผล












                       ก                           ข                            ค

           ภ�พที่ 1  ตัวอย่างช่องตารางในการตรวจนับพื้นที่ติดสี ก. ไม่ได้ย้อมสี ข. ย้อมสารสกัดใบเตย ค. ย้อมสารละลาย
                   เออริโทรซีน 4%





                2.3  ศึกษาการเตรียมต�ารับเม็ดกลมที่มีส่วน  Supply, Thailand) ที่ความเร็ว 30 รอบต่อนาที (rpm)

           ผสมของสารสกัดใบเตย                          จน damp mass เปลี่ยนเป็น extrudate ทั้งหมด
                เตรียมต�ารับเม็ดกลมโดยวิธี extrusion-sphero-   น�า extrudate ใส่ในเครื่อง spheronizer ออกแบบ
           nization  โดยใช้ microcrystalline cellulose ผสม  โดยภาคเทคโนโลยีเภสัชกรรม คณะเภสัชศาสตร์
                  [15]
           กับน�้าที่ปราศจากอิออนในสัดส่วนที่เหมาะสม โดยใช้  มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยตั้งความเร็วที่ 500
           สัดส่วนของสารก่อเม็ดกลมต่อน�้าในอัตราส่วน 1:1   rpm เป็นเวลา 2 นาที ซึ่งเป็นสภาวะที่เหมาะสมจาก
           ซึ่งเป็นสัดส่วนจากการศึกษาน�าร่องด้วย Avicel PH   การศึกษาน�าร่องในการท�าเม็ดกลมพื้นโดยใช้ Avicel

           101 แล้วพบว่าเกิดเม็ดกลมได้ดีผสมกับสารสกัดใบ  PH101 ต่อน�้าในอัตราส่วน 1:1 ว่าได้เม็ดกลมขนาด
           เตย ศึกษาความเหมาะสมของ microcrystalline    เล็กจากการมองด้วยตาเปล่า น�าเม็ดกลมที่ได้เข้าตู้อบ

           cellulose แต่ละเกรดต่อการเกิดเม็ดกลมและความ  ที่อุณหภูมิ 40˚ซ. เป็นเวลา 3 ชั่วโมง จะได้เม็ดกลม
           สามารถในการย้อมติดสีคราบจุลินทรีย์บนโมเดลฟัน   ตามต้องการ สูตรเม็ดกลมที่ศึกษา (ตารางที่ 1)
           รวมทั้งการใช้สารร่วมในสูตรต�ารับเพื่อช่วยในการ     2.4  ศึกษาการแสดงลักษณะเฉพาะของเม็ด

           ย้อมติดสีที่ดีขึ้น  เช่น แคลเซียมไฮดรอกไซด์ หรือ   สารสกัดใบเตย
                       [16]
           อะลัม วิธีการคือ ชั่งส่วนประกอบในต�ารับทั้งหมดใส่       2.4.1 ประเมินความกลม (sphericity)

           ในเครื่องปั่นผสม (Kenwood mixer, UK) จนเป็น       โดยวัดขนาดเม็ดกลมที่เตรียมขึ้นด้วย
           เนื้อเดียวกัน ได้เป็น damp mass จากนั้นใส่ลงใน  เครื่องมือ vernier caliper ค�านวณความกลมจาก
           เครื่อง Extruder (Pharmaceutical and Medical   อัตราส่วนระหว่างด้านที่สั้นที่สุดของเม็ดกลมกับด้าน
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79