Page 71 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 71

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 20  No. 3  Sep-Dec  2022  485




            จุลินทรีย์จะมีลักษณะโปร่งใสมองเห็นด้วยตาเปล่า  ทันตสาธารณสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
            ไม่ชัดเจน การก�าจัดด้วยการแปรงฟันหรือใช้ไหมขัด  เป็นการใช้เออริโทรซีน 1 ซอง (1 กรัม) ผสมน�้า 25

                                                                                 [7]
            ฟันเป็นไปได้ยาก การย้อมสีคราบจุลินทรีย์จึงสามารถ  ซีซี (สารละลายเออริโทรซีน 4%)  ในการศึกษานี้ได้
            แสดงต�าแหน่งและปริมาณของคราบจุลินทรีย์ที่ติด  เลือกใช้สีเขียวจากสารสกัดใบเตยเนื่องจากเป็นพืชที่
            ค้างบนผิวฟันได้อย่างชัดเจน เนื่องจากคราบจุลินทรีย์  หาได้ง่าย มีในพื้นที่เป็นจ�านวนมาก มีความปลอดภัย

            เหล่านี้จะติดสีจากน�้ายาย้อมสีฟัน ท�าให้สามารถ  สูง เนื่องจากเป็นพืชที่ใช้สีในการท�าเป็นอาหารเพื่อรับ
            ท�าความสะอาดคราบฟันได้อย่างมีประสิทธิผลยิ่งขึ้น [3]  ประทานในชีวิตประจ�าวันอยู่แล้ว และยังไม่พบการน�า
                 ในปัจจุบันสีที่ใช้ย้อมคราบจุลินทรีย์มีหลาก  สีจากใบเตยมาพัฒนาเป็นสีย้อมคราบจุลินทรีย์บนผิว

            หลายชนิด ที่มีใช้ในปัจจุบันคือกลุ่มของสีผสมอาหาร   ฟันแต่อย่างใด
            เช่น เออริโทรซีน, ฟาสต์กรีน, และบริลเลียนท์ บลู      ใบเตยหรือเตยหอม มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า
            เป็นต้น สีเหล่านี้มีประสิทธิผลดีในการย้อมคราบ  Pandanus odorus Ridi. และมีชื่อทางพฤกษศาสตร์

            จุลินทรีย์แต่การย้อมไม่จ�าเพาะเฉพาะคราบฟัน สีอาจ  ว่า Pandanus amaryllifolius Roxb.อยู่ในตระกูล
            ติดบริเวณอื่น ๆ ที่ไม่ต้องการ เช่น บริเวณเนื้อเยื่อใน  Pandanaceae เป็นพรรณไม้จ�าพวกหญ้า ชอบขึ้น

            ช่องปาก และแม้สารสีดังกล่าวจะเป็นสีสังเคราะห์ที่  ริมน�้าหรือในที่ชื้นแฉะ เตยหอมมีใบยาวเรียว ปลาย
            อนุญาตให้ใช้ในอาหารได้ แต่หากได้รับในปริมาณที่  ใบแหลม ลักษณะคล้ายใบสับปะรด มีสีเขียวเป็นมัน
            มากหรือบ่อยครั้ง จะก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้บริโภค   พบทั่วไปในประเทศเขตร้อนชื้น มีถิ่นก�าเนิดในเเถบ

            เช่น สีจะไปเคลือบเยื่อบุกระเพาะอาหารและล�าไส้  ทวีปแอฟริกา ทวีปเอเชีย (ไทย มาเลเซีย) บริเวณ
                                                                                       [8]
            ท�าให้น�้าย่อยอาหารออกมาไม่สะดวก อาหารย่อยยาก   ชายฝั่ง เเละหมู่เกาะเเถบทวีปออสเตรเลีย  ในเอเชีย
            เกิดอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ และขัดขวางการดูดซึม  ตะวันออกเฉียงใต้ ส่วนของต้นเตยหอมที่น�ามาใช้
                                                   [4]
            อาหาร ท�าให้ท้องเดิน น�้าหนักลด อ่อนเพลีย เป็นต้น    ประโยชน์อย่างมากคือ ส่วนของใบ ลักษณะเด่นของ
                 การศึกษานี้จึงสนใจที่จะพัฒนาสีย้อมคราบ  ใบเตยคือ มีกลิ่นหอมจากน�้ามันหอมระเหย อีกทั้งใบ

            จุลินทรีย์ที่มาจากธรรมชาติแทนเนื่องจากปลอดภัย  มีสีเขียว มักใช้เป็นสีผสมอาหาร หรือขนม จึงมีความ
            กว่าการใช้สีสังเคราะห์ ซึ่งปัจจุบันในต่างประเทศ  ปลอดภัยต่อผู้ใช้ผู้บริโภค ซึ่งสารสีเขียวที่ได้จากใบ
            มีสิทธิบัตรการใช้สีจากธรรมชาติเพื่อย้อมคราบ  เตยหอมเป็นรงควัตถุประเภทคลอโรฟิลล์ (สีเขียว

            จุลินทรีย์บนผิวฟัน เช่น การใช้ขมิ้นชันของบริษัท   อ่อน) โดย คลอโรฟิลล์เป็นรงควัตถุส�าคัญอยู่ในคลอ-
                                            [5]
            Wako Pure Chemical Industries, Ltd  หรือการ  โรพลาสต์ ซึ่งอยูใกล้กับผนังเซลล์ พบในทุกส่วนของ
            ใช้สีน�้าเงินจากสไปรูลินาของบริษัท Kanto Chemi-  พืชที่มีสีเขียว เช่น ใบ ก้าน และในผลไม้ดิบ ปฏิกิริยา

            cal Co., Inc. นอกจากนี้ยังมีการใช้สีแดงที่ได้จาก   pheophytinization เป็นปฏิกิริยาที่เกิดจากการที่
            ชูการ์บีทของบริษัท Colgate-Palmolive Com-   คลอโรฟิลล์เปลี่ยนไปเป็น pheophytin ท�าให้สารมี

                                                               [9]
            pany มาย้อมคราบจุลินทรีย์  แต่ในประเทศไทย   สีน�้าตาล  เป็นสาเหตุส�าคัญที่ท�าให้เกิดการสูญเสีย
                                   [6]
            การใช้สีย้อมคราบจุลินทรีย์ยังเป็นการใช้สีสังเคราะห์   ความคงตัวของสีเขียวในระหว่างกระบวนการแปรรูป
            ตัวอย่าง เช่น สูตรที่แนะน�าในการย้อมฟันโดยส�านัก  ด้วยความร้อน จึงได้มีการพยายามหาวิธีในการรักษา
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76