Page 73 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 73

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 20  No. 3  Sep-Dec  2022  487




            ข่ายยกเว้นการพิจารณาจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์   เลือกโมเดลฟันที่ย้อมด้วย 4% สารละลายเออริโทรซีน
            เมื่อวันที่ 25 มกราคม 2563 ส�าหรับการใช้ฟันที่ถอน  (สีย้อมอ้างอิง) แล้วติดสีคราบจุลินทรีย์บนผิวฟัน

            แล้วในการศึกษา                              คิดเป็นพื้นที่อย่างน้อย 25% โดยดัดแปลงจากเกณฑ์
                                                        การประเมินดัชนีคราบจุลินทรีย์ของ Turesky และ
            1. วัสดุ                                    คณะ [14]


                 1.1  พืชและสารเคมีที่ใช้ในการศึกษา
                 สารสกัดใบเตยสด ได้จากใบเตยที่มีขาย     2. วิธีกำรศึกษำ
            ในอ�าเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จากแหล่งผลิต        2.1  การเตรียมสารสกัดจากใบเตย (pandan

            อาหารปลอดภัย แคลเซียมไฮดรอกไซด์ pharma      extract) โดยการสกัดด้วยน�้า
            grade จาก PanReacAppliChem ITW Reagent,          เตรียมสารสกัดจากใบเตยโดยน�าใบเตยหอมสด
            Germany อะลัมจากบริษัทเคมีภัณฑ์ คอร์ปอเรชั่น   หั่นเป็นชิ้นเล็ก ๆ ขนาดประมาณ 0.2 ซม. น�ามาบดลด

            จ�ากัด microcrystalline cellulose (Avicel   ขนาดโดยใช้เครื่องปั่นไฟฟ้า ใส่โกร่งเติมน�้ากลั่นลงไป
                  TM
            PH101 ) และ microcrystalline cellulose and so-  ในอัตราส่วน 1:1 บดด้วยลูกโกร่งเป็นระยะ และตั้งทิ้ง
                                                  TM
            dium carboxymethylcellulose (Avicel RC591 )   ไว้ที่อุณหภูมิห้อง 30 นาที กรองด้วยผ้าขาวบางลงใน
            จาก FMC Health Nutrition, USA sodium starch   ภาชนะที่สะอาด จนได้สารละลายสีเขียวจากใบเตย
            glycolate (Explotab ) จาก JRS Pharma LP, USA   หอม น�าไปปั่นเหวี่ยงเพื่อให้ได้สารสีเขียวเข้มข้นจากใบ
                            TM
                 1.2  ฟันที่ใช้ในการศึกษา               เตยหอม ทิ้งส่วนใสไป เเละบรรจุลงในภาชนะที่เตรียม
                 ฟันที่น�ามาทดลองจะขอรับบริจาคจากแผนก   ไว้จะได้สารสกัดใบเตยเข้มข้น จากนั้นน�าไปสกัดแห้ง

            ทันตกรรม โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ โดยเป็น     โดยใช้วิธีท�าให้แห้งแบบแช่เยือกแข็ง (freeze-dried)
            ฟันที่ถอนออกมาใหม่ ๆ แล้วเก็บฟันไว้ในน�้าเกลือที่  เป็นเวลา 2 วัน น�าสารสกัดใบเตยในรูปผงเเห้งที่ได้มา
            ปราศจากเชื้อจนกว่าจะใช้งานโดยจะเก็บไว้ไม่เกิน 48   บรรจุในภาชนะป้องกันเเสงเเละปิดสนิท เก็บในตู้เย็น

                                                                                     [9,12]
            ชั่วโมง โดยปกติจะใช้เตรียมโมเดลฟันในวันเดียวกับ  โดยไม่ต้องเเช่เเข็งเพื่อป้องกันความชื้น  เพื่อน�าไป
            วันที่ไปรับฟันมาจากแผนกทันตกรรม น�ามาฆ่าเชื้อ  ศึกษาและเตรียมต�ารับเม็ดกลมต่อไป
            โดยแช่ใน 70% เอทิลแอลกอฮอล์ ประมาณ 30 วินาที      2.2  การศึกษาหาความเข้มสีของสารสกัดใบ

            เพื่อก�าจัดเชื้อโควิด-19  แล้วล้างน�้าให้สะอาดก่อน  เตยที่เหมาะสมในการเตรียมต�ารับเม็ดกลมโดย
                              [13]
            น�ามาท�าโมเดลฟันด้วยปูนยิปซัมทันตกรรม (dental   ประเมินจากความสามารถในการติดสีบนโมเดลฟัน
            stone powder premium quality, The Gypsun         น�าสารสกัดใบเตยในรูปผงเเห้งมาละลายน�้า

            จากประเทศไทย) แม่พิมพ์ขึ้นรูปโดยใช้อัตราส่วนปูน    ให้ได้ความเข้มข้น 10%, 15% และ 20% น�้าหนัก
            5 ส่วน น�้า 3 ส่วน ประมาณ 2-3 นาที (วิธีแนะน�าที่ฉลาก)   ต่อปริมาตร ตามล�าดับ จุ่มด้วยส�าลีก้านป้ายจนทั่ว

            ส�าหรับการทดสอบต่อไป โดยโมเดล 1 ชุดจะมีฟัน 3 ซี่   โมเดลฟัน และตรวจสอบผลการย้อมสีที่ได้ด้วย
            เลือกเฉพาะโมเดลฟันที่มีคราบจุลินทรีย์โดยธรรมชาติ  สายตา ท�าการย้อมคราบจุลินทรีย์บนโมเดลฟันเดิม
            ที่อยู่บนผิวฟันของตัวอย่างฟันมาใช้ในการศึกษา จะ  ด้วยสารละลายเออริโทรซีนความเข้มข้น 4% น�้าหนัก
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78