Page 72 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 72
486 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
ความคงตัวของสีเขียวโดยวิธีต่าง ๆ ดังนั้นขั้นตอน สาเหตุส�าคัญท�าให้้เกิดการสูญเสียความคงตัวของสี
การสกัดเเละการเก็บรักษาจึงมีความส�าคัญโดยจะต้อง เขียวสดของใบเตย การสกัดใบเตยจะใช้อัตราส่วนใบ
ควบคุมอุณหภูมิน�้าที่ใช้ในการสกัด เเละเก็บรักษาให้ดี เตยสดต่อน�้าในอัตราส่วน 1:1 เนื่องจากเป็นอัตราส่วน
ป้องกันจากเเสงเเดดเเละความชื้น การศึกษานี้ใช้น�้า ที่ท�าให้ได้ปริมาณสารสกัดมากที่สุด (3.3%) เมื่อเทียบ
ที่อุณหภูมิห้องเป็นสารละลายในการสกัด การท�าสาร กับสัดส่วน 2:1 (2.7%) หรือ 1:2 (2.4%) และใช้วิธีท�าให้
สกัดให้อยู่ในรูปผงเเห้งจะใช้วิธีการท�าเเห้งเเบบเเช่ แห้งแบบแช่เยือกแข็ง จากผลการสกัดด้วยสภาวะ
[10]
เยือกแข็งหรือ freeze drying ซึ่งเป็นการลดปัญหา ดังกล่าวจึงได้สารสกัดใบเตยสีเขียวสดตามต้องการ
การเสียสภาพของสีจากใบเตยเนื่องจากความร้อน แต่รูปแบบยาสีฟันยังเป็นรูปแบบที่มีเสถียรภาพทาง
การพัฒนาสูตรต�ารับสารย้อมติดสีคราบ เคมีของคลอโรฟิลล์ที่ไม่ดีเมื่อเก็บรักษาที่อุณหภูมิห้อง
จุลินทรีย์มีหลายรูปแบบ เช่น รูปแบบเม็ด เจล การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาสูตรต�ารับ
สารละลาย หรือ เม็ดกลม การศึกษานี้จึงมีแนวคิด เม็ดกลมของสารย้อมคราบจุลินทรีย์จากธรรมชาติ
[11]
ในการพัฒนาในรูปเม็ดกลม ซึ่งหลักการในการย้อม ศึกษาความเสถียรภาพทางกายภาพและเคมีของสาร
คล้ายกับการใช้สารละลายสีย้อม เพียงน�าเม็ดกลม สกัดใบเตยในรูปเม็ดกลมและประเมินประสิทธิผล
ปริมาณเล็กน้อยมาละลายน�้าก็จะกลายเป็นสารละลาย ในการย้อมคราบจุลินทรีย์บนผิวฟันของสูตรต�ารับที่
แล้วน�าไปป้ายฟันให้ทั่ว บ้วนปาก ท�าให้สามารถมอง พัฒนาขึ้น หากได้สูตรต�ารับที่ดีก็จะเป็นแนวทางใน
เห็นคราบจุลินทรีย์ที่ติดอยู่บนผิวฟันในรูปของสีของ การเพิ่มมูลค่าของพืชใบเตยจากการใช้ในการบริโภค
สารสกัดใบเตย เหตุผลในการพัฒนาสารสกัดใบเตย สู่ผลิตภัณฑ์ทางการค้า
ในรูปเม็ดกลม เพื่อมุ่งเน้นไปที่การเพิ่มความคงตัว
ของสารสกัดใบเตยโดยพัฒนาในรูปแบบแห้ง ท�าให้ ระเบียบวิธีศึกษำ
เก็บรักษาที่อุณหภูมิห้องได้และยังคงมีประสิทธิผลใน การศึกษานี้เป็นการพัฒนาสูตรต�ารับเม็ดกลม
การย้อมคราบจุลินทรีย์ อีกทั้งเป็นรูปแบบที่เตรียมได้ ที่มีส่วนผสมของสารสกัดใบเตยเพื่อย้อมคราบ
ง่าย โดยการศึกษานี้เป็นการศึกษาที่ต่อยอดจากการ จุลินทรีย์บนผิวฟัน โดยท�าการสกัดสีจากใบเตย
[12]
ศึกษาของศิรดา ซึ่งเป็นการพัฒนาสูตรต�ารับยาสีฟัน ด้วยน�้าและท�าให้แห้งโดยวิธีแช่เยือกแข็ง เพื่อให้
ที่ใช้ย้อมคราบจุลินทรีย์บนผิวฟันจากสารสกัดใบเตย ได้สีเขียวสด ศึกษาความเข้มข้นที่เหมาะสมของ
มีวิธีการสกัดเพื่อให้ได้สารสกัดใบเตยสีเขียวสด โดย สารสกัดใบเตยเพื่อน�าไปเตรียมเป็นต�ารับเม็ดกลม
สกัดด้วยน�้าที่อุณหภูมิห้อง ไม่ใช้ความร้อน เนื่องจาก ศึกษาการพัฒนาสูตรต�ารับเม็ดกลมที่เหมาะสม และ
ผลการสกัดใบเตยหอมด้วยน�้าในอัตราส่วน 1:1 ที่ ประเมินประสิทธิผลในการย้อมคราบจุลินทรีย์บน
อุณหภูมิ 75˚ซ. ในอ่่างควบคุมอุณหภูมิ เป็นเวลา 30 ผิวฟันของสารสกัดใบเตยโดยท�าการทดสอบโมเดล
นาที ท�าให้้น�้าที่คั้นออกมาจากการสกัดมีสีเขียวแกม ฟัน การศึกษานี้ผ่านการรับรองจริยธรรมในมนุษย์
น�้าตาลซึ่งเกิดจากปฏิกิริยา pheophytinization จากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ คณะ
ซึ่งเป็็นปฏิกิริยาที่เกิดจากการที่คลอโรฟิลล์เปลี่ยน แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เลขที่
ไปเป็็น pheophytin ท�าให้้สารมีสีเขียวน�้าตาล เป็็น โครงการ REC.63-025-19-2 ประเภทโครงการเข้า