Page 75 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 75

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 20  No. 3  Sep-Dec  2022  489




            ที่ยาวที่สุดของเม็ดกลมเพื่อเลือกสูตรที่มีความกลมที่  ออกมา
            เหมาะสม เป็นเกณฑ์เบื้องต้น โดยค่าที่เหมาะสมควร     2.5  การทดสอบความสามารถของเม็ดสารสกัด

                               [17]
            มีค่าเข้าใกล้ 1.0 (0.8-1.0)  มาประเมินการย้อมติดสี  ใบเตยในการติดสีบนโมเดลฟัน
            ฟันต่อไป ในกรณีเปรียบเทียบสูตรต�ารับที่ให้ค่าความ     เตรียมเม็ดกลมเหมือนข้อ 2.4.3 จุ่มด้วยส�าลี
            กลมดีที่สุด น�าค่าที่ได้มาประเมินทางสถิติทดสอบค่า  ก้านจนเปียก ป้ายจนทั่วโมเดลฟันเปรียบเทียบ

            เฉลี่ยของประชากรมากกว่าสองกลุ่มด้วยการวิเคราะห์  กับการย้อมติดสีคราบจุลินทรีย์ด้วยสารละลาย
            ความแปรปรวนแบบทางเดียว (one-way analysis    เออริโทรซีน 4% ประเมินผลเช่นเดียวกับ หัวข้อ 2.2
            of variance) หากสูตรต�ารับใดมีค่าใกล้เคียง 0.8-     2.6  การศึกษาเสถียรภาพของเม็ดสารสกัดใบ

            1.0 และแตกต่างจากสูตรอื่น ๆ อย่างมีนัยส�าคัญเมื่อ  เตย
            ท�าการเปรียบเทียบรายคู่ด้วยวิธีของเชฟเฟ่ (Scheff’e      ศึกษาเสถียรภาพของเม็ดสารสกัดใบเตย ก่อน
            Post Hoc Comparison) ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%   และภายหลังเก็บที่อุณหภูมิห้องเป็นเวลา 1 เดือนใน

            แสดงว่าสูตรนั้นมีค่าความกลมดีที่สุด         ภาชนะกันแสง เม็ดจะต้องไม่มีลักษณะทางกายภาพ
                   2.4.2 ประเมินความกร่อน (friability)    ที่เปลี่ยนไป เช่น การเปลี่ยนสี การกร่อน และยังคง

                   เม็ดกลมที่ดีจะเป็นเม็ดกลมที่แน่น ทนต่อ  มีเสถียรภาพทางเคมีโดยวัดจากปริมาณสารสีของ
            การขนส่ง และแรงกระแทก โดยยังคงสภาพเม็ดกลม   ใบเตยหรือ chlorophyll ด้วยเครื่อง UV-VIS (Shi-
            ไม่กร่อนและไม่แตก มีวิธีทดสอบดังนี้ ชั่งตัวอย่างเม็ด  madzu UV-180, Japan) วิธีการคือละลายเม็ดสาร

            กลมอย่างถูกต้องแม่นย�า ปริมาณ 50 กรัม จากนั้นน�า  สกัดใบเตย 100 มก. ในเอทานอล ความเข้มข้น 95%
            ตัวอย่างเม็ดกลมที่ชั่งได้ใส่ในเครื่อง tablet friability   v/v ปริมาตร 20 มล. จนหมด และ ปรับปริมาตร

            apparatus (Electrolab, India) ทดสอบโดยการหมุน  ให้ครบ 30 ml โดยวัดปริมาณสารสีของใบเตยที่
                             [18]
            เครื่องจ�านวน 100 รอบ  เมื่อครบเวลาให้น�าเม็ดกลม  ความยาวคลื่น 652 nm และค�านวณปริมาณในรูป
            ออกจากเครื่อง จากนั้นชั่งน�้าหนักหลังการทดสอบของ  total chlorophyll โดยใช้สูตร chlorophyll content,

            เม็ดกลมที่เหลืออย่างถูกต้องแม่นย�า วิธีการประเมิน  mg L-1 = 28.96A652 (A คือค่าการดูดกลืนแสงที่
                                                                                              [19]
            ผลคือ หลังการทดสอบ เม็ดกลมจะต้องมีน�้าหนักที่  ความยาวคลื่น 652 nm) ดัดแปลงจากวิธีของ Putra
            หายไปคิดเป็นเปอร์เซ็นต์เทียบกับน�้าหนักของเม็ด  เนื่องจากการศึกษาของศิรดา  พบว่า วิธีดังกล่าวได้
                                                                              [12]
            กลมก่อนการทดสอบไม่เกิน 1%                   ค่าใกล้เคียงกับการหาปริมาณ total chlorophyll จาก
                                     [18]
                 2.4.3 การทดสอบการแตกกระจายตัวของเม็ด   ผลรวมของ chlorophyll A และ B  ซึ่งต้องวัดค่าการ
                                                                                 [20]
            กลม (disintegration)                        ดูดกลืนแสงสองความยาวคลื่น

                 วิธีการทดสอบประยุกต์จากการใช้เม็ดกลมจริง
            ในการย้อมสีฟัน  วิธีการคือ ใส่เม็ดกลม 0.3 กรัม            ผลกำรศึกษำ
                         [11]
            (ปริมาณที่มากพอในการย้อมฟัน) ในภาชนะ ละลาย
            ด้วยน�้า 1 กรัม คนให้ละลาย ในเวลา 1 นาที หากเม็ด  1. ลักษณะของสำรสกัดใบเตยที่ได้
            กลมแตกตัวดีจะมีสีเขียวของสารสกัดใบเตยละลาย       สารสกัดใบเตยที่ได้จากการสกัดใบเตยหอม
   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80