Page 208 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 208

622 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 20  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2565




                       ระเบียบวิธีศึกษ�                และรับคืนแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่างได้รับการชี้แจง
                                                       การพิทักษ์สิทธิของการให้ข้อมูลของกลุ่มตัวอย่างด้วย
           1. วิธีก�รศึกษ�                             เอกสารและผนึกซองก่อนคืนแบบสอบถามไปยังผู้

               การศึกษาครั้งนี้เป็นงานวิจัยเชิงพรรณนาจาก  รวบรวม ด�าเนินการรวบรวมข้อมูลในระหว่างวันที่ 10

           บุคลากรโรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและการ        มกราคม - 10 กุมภาพันธ์ 2565 แจกแบบสอบถาม
           แพทย์ผสมผสานทั้งหมด ซึ่งประกอบด้วยแพทย์     จ�านวน 150 ฉบับ ได้รับแบบสอบถามคืนและผ่าน

           แผนไทย ผู้ช่วยแพทย์แผนไทย แพทย์แผนจีน ผู้ช่วย  การตรวจสอบจ�านวน 150 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 100
           แพทย์แผนจีน ผู้ช่วยโครงการวิจัย ผู้ช่วยเหลือผู้ป่วย
                                                       2. ก�รวิเคร�ะห์ข้อมูล
           เภสัชกร พยาบาลวิชาชีพ นักจัดการงานทั่วไป เจ้าหน้าที่
           ธุรการจ�านวน 150 คน โดยเก็บข้อมูลประชากรทั้งหมด     การศึกษาครั้งนี้ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิง

           การศึกษานี้ผ่านคณะกรรมการพิจาณาการศึกษาวิจัย  พรรณนา แจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วน
           ในคน กระทรวงสาธารณสุข เอกสารเลขที่ 15/2564   เบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่าง

           เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาใช้แนวทางการศึกษาปัจจัย  ตัวแปรโดยใช้สถิติค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน
           ที่มีความสัมพันธ์กับความพร้อมในการปฏิบัติงานการ  (Pearson’s Correlation) และสถิติส�าหรับการเปรียบ

           พัฒนาคุณภาพ (HA) โรงพยาบาลเขาย้อย จังหวัด   เทียบค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม (indepen-
           เพชรบุรี (2557) ของนางอุษา เอี่ยมองอาจ โดยไม่ได้  dent t–test)

           มีการดัดแปลง และน�ามาพิสูจน์ความเชื่อมั่นใหม่ใน
           เรื่องความเที่ยงตรงทางเนื้อหา โดยผู้เชี่ยวชาญจาก         ผลก�รศึกษ�

           โรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสม
           ผสาน 3 ท่าน ได้ค่าดัชนีความเที่ยงตรงตามเนื้อหา   1. ปัจจัยลักษณะส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่�ง

           0.9 เนื้อหาในแบบสอบถามมีทั้งหมด 5 ส่วน ส่วนที่ 1     พบว่ากลุ่มต�าแหน่งผู้ช่วยแพทย์แผนไทยมีจ�านวน
           ข้อมูลส่วนบุคคล ส่วนที่ 2 การวัดความรู้เกี่ยวกับการ  มากที่สุด ร้อยละ 38.7 รองลงมาคือกลุ่มแพทย์แผน

           พัฒนาคุณภาพ (HA) ส่วนที่ 3 การวัดด้านเจตคติเกี่ยว  ไทย ร้อยละ 21.3 บุคลากรได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยว
           กับงานพัฒนาคุณภาพ ส่วนที่ 4 การวัดแรงจูงใจในการ  กับการพัฒนาคุณภาพ ร้อยละ 27.8 บุคลากรอยู่ใน

           ท�างานพัฒนาคุณภาพ ส่วนที่ 5 วัดความพร้อมการ  ระดับปฏิบัติงานเป็นส่วนใหญ่ ร้อยละ 92 ไม่ได้ร่วม
           ปฏิบัติงานพัฒนาคุณภาพ และ แบ่งกลุ่มระดับคะแนน  เป็นคณะกรรมการทีมพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล

           อิงเกณฑ์ของ Bloom (1986)  ใช้มาตราวัดแบบ    ร้อยละ 80 และบุคลากรที่ยังไม่เคยได้รับการอบรม
                                   [4]
                            [5]
           ลิเคิต (Likert Scale)  การเก็บรวบรวมข้อมูล โดย  เกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล สูงถึงร้อยละ
           ท�าหนังสือขออนุญาตผู้อ�านวยการโรงพยาบาลในการ  93.3
           เก็บข้อมูล และให้ผู้ช่วยวิจัยเป็นศูนย์กลางในการแจก
   203   204   205   206   207   208   209   210   211   212   213