Page 212 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 212

626 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 20  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2565




           การมีส่วนร่วมและการท�างานเป็นทีม            ความสัมพันธ์กับการปฏิบัติงานพัฒนาคุณภาพ เมื่อ
                2.  ระดับความรู้เกี่ยวกับความพร้อมในการ  พิจารณารายละเอียดพบว่า บุคลากรมีเจตคติที่ดี

           พัฒนาคุณภาพอยู่ในระดับต�่า อธิบายได้ว่า เจ้าหน้าที่  ในการท�า 5ส.ช่วยเพิ่มคุณภาพบริการ รองลงมา
           ยังขาดความรู้และความเข้าใจในเรื่องการพัฒนา  พบว่ามีผลการศึกษาที่เท่ากัน คือ การท�ากิจกรรม
           คุณภาพ ความรู้ที่ถูกต้องน้อยที่สุดเกี่ยวกับการพัฒนา  พัฒนาคุณภาพ (HA) ท�าให้ท่านได้พัฒนาตนเอง

           คุณภาพ หรือตอบผิดมากที่สุด ได้แก่ การรับรอง  และผู้อ�านวยการให้การสนับสนุนกิจกรรมการพัฒนา
           คุณภาพโรงพยาบาลของสถาบันรับรองคุณภาพ        คุณภาพ เจตคติที่ไม่ดีของบุคลากรต่อการพัฒนา
           โรงพยาบาลใช้บันได 5 ขั้น รองลงมาคือ clinical   คุณภาพ 2 อันดับแรก คือ กิจกรรมการพัฒนาต่าง ๆ

           tracer คือการตามรอยการดูแลผู้ป่วยรายโรค และ   ท�าให้ไม่มีเวลาดูแลผู้ป่วย ร้อยละ 9.3 รองลงมาคือมี
           C3THER คือการทบทวนการให้บริการ ต้องใช้กับ   ผลการศึกษาที่เท่ากัน ได้แก่ การพัฒนาคุณภาพ คือ
           การดูแลผู้ป่วยทุกคน และบุคลากรที่มีต�าแหน่งเป็น  การท�างานประจ�าของแต่ละหน่วยงานให้ดีเท่านั้น และ

           หัวหน้างาน จะมีความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพ  การทบทวน 12 กิจกรรม เป็นกิจกรรมของหัวหน้างาน
           ในระดับสูง ซึ่งจากการศึกษาจะเห็นได้ว่า ระดับ  เท่านั้น ร้อยละ7.3  อธิบายได้ว่าบุคลากรส่วนใหญ่

           ความรู้เป็นปัจจัยที่สัมพันธ์ในทางตรงกับระดับความ  ร้อยละ 80 ไม่ได้ร่วมเป็นคณะกรรมการทีมพัฒนา
           พร้อมในการปฏิบัติงานพัฒนาคุณภาพ ยิ่งความรู้  คุณภาพ ร้อยละ 12.7 ไม่ทราบว่าตนเองมีส่วนร่วม
           เกี่ยวกับการพัฒนาสูงจะมีผลให้การพัฒนาคุณภาพ  เป็นคณะกรรมการหรือไม่ และร้อยละ 92 เป็นระดับผู้

           โรงพยาบาลอยู่ในระดับที่ดีขึ้นด้วย ซึ่งสอดคล้อง  ปฏิบัติ ผลการศึกษานี้สอดคล้องกับผลการศึกษาของ
                                                [7]
           กับการศึกษาของ ศิริพร เนตรพุกกณะ (2563)  ที่  สถิต พูลเพิ่ม (2557)  การรับรู้บทบาทคณะกรรมการ
                                                                      [9]
           กล่าวว่าการท�าให้บุคลากรมีความรู้ ความเข้าใจ และ   โรงพยาบาล และการเป็นกรรมการโรงพยาบาล เป็น
           ได้รับการเสริมพลัง ท�าให้บุคลากรมีขวัญก�าลังใจ มี  ปัจจัยที่ท�าให้เกิดการมีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพ
           การท�างานเป็นทีม มีความมุ่งมั่นร่วมพัฒนางานไป  โรงพยาบาล แรงจูงใจที่มีผลต่อการพัฒนาคุณภาพ อยู่

           ในทิศทางเดียวกัน ท�าให้โรงพยาบาลมีผลการพัฒนา  ในระดับปานกลาง ร้อยละ 70.6 ผลการศึกษาพบว่า
           คุณภาพที่ดีขึ้น ระดับเจตคติในภาพรวมอยู่ในระดับ  ระดับแรงจูงใจมีความสัมพันธ์กับระดับความพร้อม
           ปานกลาง ร้อยละ 62.7 ซึ่งมีผลความพร้อมในการ  ในการปฏิบัติงานพัฒนาคุณภาพ ซึ่งสอดคล้องกับ

                                                                                       [10]
           ปฏิบัติงานพัฒนาคุณภาพ ร้อยละ 43.3 ในระดับ   การศึกษาของ สถาพร รัตนวารีวงษ์ (2557)  ปัจจัย
           ปานกลาง จะเห็นได้ว่า ในกลุ่มที่มีระดับเจตคติระดับ  จูงใจ และการสนับสนุน จากองค์การมีความสัมพันธ์
           ปานกลาง มีความพร้อมในการปฏิบัติงานพัฒนาคุณภาพ  กับการมีส่วนร่วมในการพัฒนา และรับรองคุณภาพ

           ปานกลางเช่นกัน ซึ่งจากการศึกษาจะเห็นได้ว่า ระดับ   โรงพยาบาลของบุคลากรสาธารณสุข อย่างมีนัยส�าคัญ
           เจตคติเป็นปัจจัยที่สัมพันธ์ในทางตรงกับระดับความ  ทางสถิติ จากผลการศึกษาเมื่อระดับแรงจูงใจสูงขึ้น

           พร้อมในการปฏิบัติงานพัฒนาคุณภาพ ซึ่งสอดคล้อง  ผลการปฏิบัติงานการพัฒนาคุณภาพก็สูงขึ้นด้วยเช่น
                                                  [8]
           กับการศึกษาของ ณัฐกฤษฎ์ ธรรมกวินวงศ์ (2559)    กัน เมื่อพิจารณารายละเอียดของระดับแรงจูงใจพบว่า
           ที่พบว่า ระดับเจตคติของเจ้าหน้าที่โรงพยาบาล มี  การจัดสวัสดิการต่าง ๆ ของโรงพยาบาลที่เหมาะสม
   207   208   209   210   211   212   213   214   215   216   217