Page 213 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 213

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 20  No. 3  Sep-Dec  2022  627




            และการพิจารณาเลื่อนขั้นเลื่อนต�าแหน่งขึ้นอยู่กับ  ได้รับการอบรมเกี่ยวกับงานพัฒนาคุณภาพแล้วลาไป
            การปฏิบัติงานอยู่ในระดับต�่า ซึ่งอาจเป็นปัจจัยส�าคัญ  ศึกษาต่อต่างประเทศ ท�าให้บุคลากรส่วนนั้นไม่ได้ท�า

            ที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของบุคลากรในโรงพยาบาล  แบบสอบถาม ท�าให้การประเมินคะแนนออกมาในส่วน
                                                        ของความรู้เกี่ยวกับงานพัฒนาคุณภาพอยู่ในระดับต�่า
                             ข้อสรุป                    ดังนั้นในการศึกษาครั้งต่อไปควรต้องให้ผู้ที่ผ่านการ


                 จากการศึกษาระดับความพร้อมของบุคลากร    อบรมงานพัฒนาคุณภาพแล้ว ได้ท�าแบบสอบถามและ
            ในการเข้าสู่การประเมินพัฒนาคุณภาพ พบว่า ส่วน  ประเมินทุกคน
            ใหญ่มีระดับความพร้อมอยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ

            43.3 มีระดับความรู้เกี่ยวกับงานพัฒนาคุณภาพระดับ  ข้อเสนอแนะในก�รนำ�ไปใช้ประโยชน์
            ต�่า ร้อยละ 66 และมีระดับเจตคติ แรงจูงใจในการเข้า     การศึกษานี้สามารถใช้เป็นแนวทางในการจัด
            สู่การประเมินพัฒนาคุณภาพระดับปานกลาง ร้อยละ   ท�าโครงการพัฒนาบุคลากร เพื่อเพิ่มความพร้อมของ

            62.7 และ 20.6 ตามล�าดับ ปัจจัยลักษณะส่วนบุคคล   บุคลากรให้เข้าสู่การประเมินคุณภาพได้อย่างมั่นใจ
            พบว่าบุคลากรส่วนใหญ่เป็นกลุ่มต�าแหน่งผู้ช่วย  จนกลายเป็นโรงพยาบาลด้านการแพทย์แผนไทยแห่ง

            แพทย์แผนไทย ในระดับปฏิบัติการ ไม่ได้มีส่วนร่วม  แรกที่ได้รับการรับรองคุณภาพได้ในที่สุด ตัวอย่างเช่น
            ในการเป็นกรรมการทีมพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล ไม่  โครงการอบรมความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงานพัฒนา
            ได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพ และ  คุณภาพ โครงการเพิ่มสวัสดิการน�้าดื่ม อาหาร สถานที่

            ยังไม่เคยได้รับการอบรมเกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพ  สันทนาการให้กับบุคลากร และการแต่งตั้งให้บุคลากร
            โรงพยาบาลมาก่อน                             ในโรงพยาบาลทุกคนเป็นหนึ่งในคณะกรรมการทีม

            ผลการวิเคราะห์โดยใช้สถิติพบว่า หน้าที่ความรับ  พัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล
            ผิดชอบ การได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการพัฒนา
            คุณภาพ (HA) การร่วมเป็นคณะกรรมการทีมพัฒนา      ข้อเสนอแนะในก�รศึกษ�ครั้งต่อไป

            คุณภาพโรงพยาบาล ความรู้ เจตคติ และแรงจูงใจ       การศึกษาครั้งนี้เน้นการศึกษาไปที่บุคลากร ไม่
            เป็นปัจจัยที่มีผลต่อระดับความพร้อมในการเข้าสู่  ได้เน้นที่โครงสร้างและทรัพยากรที่จะน�าไปต่อยอด
            การประเมินพัฒนาคุณภาพ อย่างมีนัยส�าคัญทาง   เพื่อพัฒนางานด้านคุณภาพ ดังนั้นจึงควรมีการศึกษา

            สถิติ ซึ่งสามารถน�าผลการศึกษานี้ไปต่อยอดเพื่อใช้  ทั้งบุคลากร โครงสร้างองค์กร และทรัพยากรเป็นองค์
            เป็นแนวทางในการพัฒนาบุคลากร เพิ่มความพร้อม  รวมเพื่อน�าไปต่อยอดการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล
            ของบุคลากรให้พร้อมเข้าสู่การประเมินคุณภาพ   ต่อไป

            มากขึ้น จนกระทั่งสามารถผ่านการประเมินคุณภาพ
            โรงพยาบาลได้ในที่สุด                                       References

                                                          1.  Institute of Traditional Medicine. Thai traditional medi-
                      ข้อจำ�กัดในก�รศึกษ�                   cine hospital accreditation guidelines. Nonthaburi: De-
                                                            partment of Thai Traditional and Alternative Medicine;
                 ในช่วงที่ด�าเนินการศึกษามีบุคลากรส่วนหนึ่งที่  2018. (in Thai)
   208   209   210   211   212   213   214   215   216   217   218