Page 211 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 211

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 20  No. 3  Sep-Dec  2022  625




            ตารางที่ 7  การเปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนประเมินเฉลี่ยกลุ่มที่ได้ร่วมเป็นคณะกรรมการทีมพัฒนาคุณภาพ (HA)
                     และกลุ่มที่ไม่ได้ร่วมเป็นคณะกรรมการทีมพัฒนาคุณภาพ (HA)

             ได้ร่วมเป็นคณะกรรมการทีม HA        ค่าเฉลี่ย    ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน   t       p

             ไม่ได้เป็นคณะกรรมการทีม HA          64.41             15.93          -3.172  0.002
             ได้เป็นคณะกรรมการทีม HA             78.00             11.82





                 6.4 ความรู้ เจตคติ แรงจูงใจ            ในการเข้าสู่การประเมินคุณภาพ (HA) (ตารางที่ 8)
                 พบว่า มีความสัมพันธ์ทางบวกกับความพร้อม




            ตารางที่ 8  ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแบบสอบถามเกี่ยวกับงานคุณภาพ (HA) ต่าง ๆ กับ ความพร้อมในการปฏิบัติงานพัฒนา
                     คุณภาพ (HA)

             แบบสอบถามเกี่ยวกับงานคุณภาพ (HA)               ความพร้อมในการปฏิบัติงานคุณภาพ (HA)

                                                         Pearson’s Correlation (r)   Sig. (2-tailed)
             1. ความรู้เกี่ยวกับงานคุณภาพ (HA)                 0.286                 0.000

             2. เจตคติต่อการพัฒนาคุณภาพ (HA)                   0.470                 0.000

             3. แรงจูงใจในการพัฒนาคุณภาพ (HA)                  0.485                  0.000





                           อภิปร�ยผล                    คุณภาพ ผลการศึกษาครั้งนี้สอดคล้องกับ ทฤษฎี

                 การศึกษานี้สามารถอภิปรายผลการศึกษา ตาม  การเรียนรู้ของ Bloom (Bloom, 1959)  ที่กล่าวว่า
                                                                                      [6]
            วัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้                     เมื่อบุคคลเกิดการเรียนรู้จะเกิดการเปลี่ยนแปลง คือ
                 1.  ระดับความพร้อมในการปฏิบัติงานพัฒนา  การเปลี่ยนแปลงทางด้านความรู้ ความเข้าใจ และ

            คุณภาพ (HA)ของเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลการแพทย์  ความคิด (cognitive domain) การเปลี่ยนแปลงทาง
            แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน พบว่าส่วนใหญ่      ด้านอารมณ์ ความรู้สึก ทัศนคติ ค่านิยม (affective
            มีความพร้อมในการปฏิบัติงานพัฒนาคุณภาพ (HA)   domain) การเปลี่ยนแปลงทางด้านความช�านาญ

            อยู่ในระดับปานกลาง จากข้อมูลทั่วไปพบว่ากลุ่มที่  (psychomotor domain) ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษา
            มีความพร้อมในการปฏิบัติงานพัฒนาคุณภาพใน     ของ ธีรวิทย์ ตั้งจิตไพศาล ว่าปัจจัยความส�าเร็จในการ
            ระดับสูง เป็นกลุ่มที่ร่วมเป็นคณะกรรมการทีมพัฒนา  พัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล ได้แก่ ด้านการศึกษาและ

            คุณภาพ ได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการพัฒนา  ฝึกอบรม ทั้งด้านความเป็นผู้น�า วัฒนธรรมองค์กร
   206   207   208   209   210   211   212   213   214   215   216