Page 161 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 161
J Thai Trad Alt Med Vol. 20 No. 3 Sep-Dec 2022 575
ง่ำย ไม่เหนียวเหนอะหนะ หลังทำแล้วรู้สึกนุ่มชุ่มชื้น ประเมินระดับควำมเจ็บปวด Visual Analog Scale
[12]
ไม่พบครำบ (VAS) แบบประเมินอำกำรโรคข้อเข่ำเสื่อม Western
นอกจำกนี้ยังมีกำรพัฒนำผลิตภัณฑจำกต�ำรับ Ontario and McMaster University (WOMAC)
ยำทำพระเส้นของสุพนิดำ วินิจฉัย และพัลลภำ เครื่องมือวัดองศำกำรเคลื่อนไหวของข้อเข่ำ (goni-
วุฒิภำพรกุล ได้รับกำรจดอนุสิทธิบัตร จำกกรม ometer) พบว่ำ กลุ่มผู้ที่ได้รับยำทำพระเส้น ระดับ
ทรัพยสินทำงปัญญำ ได้แก่ ผลิตภัณฑบำลมที่มี ควำมปวดข้อเข่ำลดลง ระดับอำกำรข้อเข่ำฝืดลดลง
ส่วนผสมของสมุนไพรในต�ำรับยำทำพระเส้นโอสถ ระดับควำมสำมำรถในกำรใช้งำนข้อเข่ำดีขึ้น และองศำ
[13]
พระนำรำยณ อนุสิทธิบัตรเลขที่ 14278 เป็น กำรเคลื่อนไหวของข้อเข่ำดีขึ้น ซึ่งแตกต่ำงกันอย่ำงมี
สูตรบำลมใช้สะดวก ช่วยให้สำรออกฤทธิ์ส�ำคัญของ นัยส�ำคัญทำงสถิติ (p < 0.05) ส่วนกลุ่มผู้ที่ได้รับยำ
สมุนไพรมีควำมคงตัวสูง บรรเทำอำกำรปวดเมื่อย หลอก ระดับควำมปวดข้อเข่ำเพิ่มขึ้น ระดับอำกำรข้อ
เก็บรักษำได้ยำวนำนกว่ำกำรใช้ในรูปแบบน�้ำ และ เข่ำฝืดเพิ่มขึ้น ระดับควำมสำมำรถในกำรใช้งำนข้อเข่ำ
ผลิตภัณฑครีมที่มีส่วนผสมของสมุนไพรในต�ำรับ ลดลง และองศำกำรเคลื่อนไหวของข้อเข่ำลดลง ซึ่ง
ยำทำพระเส้นโอสถพระนำรำยณ อนุสิทธิบัตรเลขที่ ไม่มีควำมแตกต่ำงกันอย่ำงมีนัยส�ำคัญทำงสถิติ (p >
[14]
14279 เป็นครีมที่มีควำมคงตัวสูง ช่วยเสริมให้สำร 0.05) เมื่อเปรียบเทียบระดับควำมปวด ระดับอำกำร
ส�ำคัญของสมุนไพรเข้ำสู่กล้ำมเนื้อและบรรเทำอำกำร ข้อเข่ำฝืด ระดับควำมสำมำรถในกำรใช้งำนข้อเข่ำ และ
ปวดเมื่อยได้ดียิ่งขึ้น ใช้ง่ำย เก็บรักษำได้ยำวนำนกว่ำ องศำกำรเคลื่อนไหวของเข่ำ หลังได้รับยำระหว่ำงกลุ่ม
กำรเก็บในรูปของเหลวตำมที่มีกำรใช้กันทั่วไป พบว่ำ มีควำมแตกต่ำงกันอย่ำงนัยส�ำคัญทำงสถิติ (p
[15]
< 0.05)
3. ก�รศึกษ�ท�งคลินิกของตำ�รับย�ท�พระเส้น มีกำรศึกษำประสิทธิผลและควำมปลอดภัยของ
มีกำรศึกษำประสิทธิผลเบื้องต้นของยำทำพระ ยำทำพระเส้นเปรียบเทียบกับยำครีมทำแก้ปวดในกำร
เส้นในกำรบรรเทำอำกำรปวดเข่ำจำกโรคลมจับโปง รักษำโรคข้อเข่ำเสื่อมปฐมภูมิของภูริทัต กนกกังสดำล,
แห้งเข่ำทำงกำรแพทยแผนไทยของมนตรปำจรีย มำลิน ไวประดับ, พัชรำ ตุ้นสกุล, เครือวัลย ก้ำนล�ำไย,
ณ ร้อยเอ็ด, พำสินี บัวกุม, เพ็ญพิมล จิตรวุฒิวำสน โรจน คุณอเนก และอรุณพร อิฐรัตน (2563) ในผู้เข้ำ
และอุไรลักษณ วันทอง (2562) ในผู้เข้ำร่วมวิจัยที่มี ร่วมวิจัย จ�ำนวน 60 คน แบ่งกลุ่มตัวอย่ำงเป็น 2 กลุ่ม
อำกำรปวดเข่ำ โดยกำรวินิจฉัยของแพทยแผนไทย คือ กลุ่มผู้ที่ได้รับยำทำพระเส้นเทียบกับกลุ่มผู้ที่ได้รับ
ประยุกต จ�ำนวน 50 คน แบ่งกลุ่มตัวอย่ำงเป็นก ยำหลอก เป็นกำรศึกษำเปิดเผยแบบสุ่ม คือ กลุ่มที่ได้
ลุ่มผู้ที่ได้รับยำทำพระเส้นเทียบกับกลุ่มผู้ที่ได้รับยำ รับยำทำพระเส้น ครั้งละ 6 มิลลิลิตร จ�ำนวน 31 คน
หลอก เป็น 2 กลุ่ม โดยกำรสุ่มแบบ double-blinded, และกลุ่มที่ได้รับครีมทำแก้ปวด ครั้งละ 1 กรัม วันละ
randomized controlled trial กลุ่มละ 25 คนเท่ำกัน 3 ครั้งเท่ำกัน จ�ำนวน 29 คน ติดต่อกันเป็นเวลำ 14 วัน
โดยให้ทำยำบริเวณเข่ำ วันละ 3 ครั้ง เวลำเช้ำ กลำง ประเมินประสิทธิผลจำกระดับควำมเจ็บปวด โดยใช้
วัน และก่อนนอน ติดต่อกันเป็นเวลำ 7 วัน ประเมิน Visual Analog Scale (VAS) ระยะเวลำกำรเดิน 100
ผลก่อนและหลังกำรใช้ยำด้วยแบบสอบถำม แบบ เมตร และ WOMAC index score ควำมปลอดภัย