Page 157 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 157
วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine
ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565 Vol. 20 No. 3 September-December 2022
บทปริทัศน์
ข้อมูลเชิงประจักษ์เพื่อสนับสนุนการใช้ตำารับยาทาพระเส้นในโรคข้อเสื่อม
ณัฐณิชา พึ่งสาระ , พิมพ์ชนก ศรศิริวัฒน์
*
ศูนย์การแพทย์มหิดลบำารุงรักษ์ จังหวัดนครสวรรค์ ตำาบลเขาทอง อำาเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์ 60130
ผู้รับผิดชอบบทความ: natnicha.phu@mahidol.ac.th
*
บทคัดย่อ
ตำ�รับย�ท�พระเส้นเป็นตำ�รับย�ขน�นที่ 58 ที่บันทึกไว้ในตำ�ร�พระโอสถพระน�ร�ยณ์ มีก�รใช้ในก�รแพทย์
แผนไทยม�ตั้งแต่สมัยอยุธย� สรรพคุณ ใช้แก้เส้นที่ผิดปกติ ลมอัมพ�ต ปัตค�ด กล่อน ตะคริว จับโปง และเมื่อยขบ
ต่�ง ๆ ปัจจุบันมีก�รนำ�ม�ใช้ในโรคข้อเสื่อมในรูปแบบของย�ใช้ภ�ยนอก ตำ�รับย�นี้ ประกอบด้วยตัวย� 13 สิ่ง ต�ม
สัดส่วนจ�กม�กไปน้อย ได้แก่ ใบมะคำ�ไก่ ใบขี้เหล็ก ใบตองแตก ตะไคร้หอม ใบมะข�ม ใบเลี่ยน กระช�ย กระเทียม
ข่� พริกไทย มห�หิงคุ์ (สะตุ) ย�ดำ� (สะตุ) และหอมแดง จ�กร�ยง�นก�รศึกษ�ที่ผ่�นม� มีก�รศึกษ�ฤทธิ์ท�งชีวภ�พ
ก�รวิจัยท�งคลินิกของย�ท�พระเส้น และก�รพัฒน�ผลิตภัณฑ์ในรูปแบบต่�ง ๆ ทั้งครีม เจล และบ�ล์ม บทปริทัศน์นี้
มีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับตำ�รับย�ท�พระเส้น รวมทั้งก�รศึกษ�ฤทธิ์ท�งเภสัชวิทย� โดยเฉพ�ะ
ฤทธิ์ต้�นก�รอักเสบและระงับอ�ก�รปวดของสมุนไพรในตำ�รับย�ท�พระเส้น และสรรพคุณของตัวย�สมุนไพรในก�ร
แพทย์แผนไทย เพื่อให้ทร�บว่�ยังมีง�นวิจัยใดที่ควรศึกษ�เพิ่มเติม ด้วยวิธีก�รสืบค้นจ�กฐ�นข้อมูล ตำ�ร�วิช�ก�ร และ
ง�นวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยคัดเลือกเฉพ�ะง�นวิจัยต้นฉบับ ผลก�รศึกษ�พบว่� สมุนไพรในตำ�รับย�ท�พระเส้นมีสรรพคุณ
ต�มศ�สตร์ก�รแพทย์แผนไทย สอดคล้องกับก�รออกฤทธิ์ท�งเภสัชวิทย� ส�ม�รถใช้รักษ�ในผู้ป่วยที่มีอ�ก�รปวด
ต�มข้อได้อย่�งมีประสิทธิผล และมีคว�มปลอดภัยในก�รใช้ย� ดังนั้น ตำ�รับย�ท�พระเส้นจึงเป็นอีกแนวท�งในก�ร
รักษ�โรคข้อเสื่อมท�งก�รแพทย์และส�ธ�รณสุขได้
คำ�สำ�คัญ: ย�ท�พระเส้น, วิจัยคลินิก, สมุนไพร, ต้�นอักเสบ, แก้ปวด
Received date 19/04/22; Revised date 25/11/22; Accepted date 3/12/22
571