Page 165 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 165

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 20  No. 3  Sep-Dec  2022  579




            กก. ประเมินจำกกำรบวมน�้ำที่อุ้งเท้ำโดยกำรฉีด 1%   8 และ 4 ตำมล�ำดับ และช่วยลดกำรอักเสบบริเวณข้อ
                                                                                          [37]
            carrageenin จ�ำนวน 0.1 มล. พบว่ำ กลุ่มทดสอบได้  ต่อข้อเท้ำของหนูได้อย่ำงมีนัยส�ำคัญทำงสถิติ  และ
            รับสมุนไพรข่ำ มีฤทธิ์ในกำรต้ำนกำรอักเสบถึง 52.5%   มีกำรศึกษำฤทธิ์ต้ำนกำรอักเสบของสำร piperine
            เมื่อเทียบกับ indomethacin ที่มีฤทธิ์ในกำรต้ำนกำร  ในกำรรักษำโรคข้อเสื่อมในมนุษย ที่ควำมเข้มข้น
            อักเสบ 68.75% และกำรแสดงฤทธิ์ต้ำนกำรอักเสบมี  0, 50 และ 100 มก./มล. โดยกระตุ้นด้วย IL-1β (5

            ค่ำ p < 0.05 เมื่อเทียบกับยำ indomethacin ที่มี  มก./มล.) เป็นเวลำ 24 ชั่วโมง ประเมินด้วย Griess
                       [35]
            ค่ำ p < 0.001  นอกจำกนี้ ยังมีกำรศึกษำฤทธิ์ระงับ  reaction และ ELISA พบว่ำ สำมำรถยับยั้งกำรผลิต
            อำกำรปวดของกำรสกัดเหง้ำข่ำด้วยเอทำนอลในหนู  PGE2 และ NO ที่เกิดจำก IL-1β ลดกำรแสดงออก

            ทดลอง ทดสอบด้วยวิธี hot plate พบว่ำ มีกำรเพิ่ม  ของ IL-1β อย่ำงมีนัยส�ำคัญทำงสถิติ และยังมีกำร
            ระยะเวลำแฝงในกำรทดสอบ ที่ช่วงเวลำ 30, 60, 90   ผลิต MMP-3, MMP-13, iNOS และ COX-2 ในโรค
            และ 120 นำที อย่ำงมีนัยส�ำคัญทำงสถิติ (p < 0.05   ข้อเสื่อม  นอกจำกนี้ ยังมีกำรศึกษำฤทธิ์ระงับอำกำร
                                                              [38]
            หรือ p < 0.01) เมื่อให้ Naloxone ปรับสภำพ พบว่ำ มี  ปวดของสำร piperine ในหนูทดลอง ด้วยวิธี acetic
            กำรลดระยะเวลำแฝงในกำรทดสอบอย่ำงมีนัยส�ำคัญ  acid-induced writhing และ tail flick assay โดย

            ทำงสถิติ (p < 0.05 หรือ p < 0.01) และ วิธี acetic   ให้สำร piperine ที่ควำมเข้มข้นต่ำงกันทำงช่องท้อง
            acid-induced writhing พบว่ำ กลุ่มทดสอบได้รับ  พบว่ำ วิธี acetic acid-induced writhing ให้สำร
            สำรสกัดข่ำ สำมำรถลดอำกำรปวดได้ ที่เวลำ 15 นำที   piperine 30, 50 และ 70 มก./กก. เทียบได้กับยำ

            อย่ำงมีนัยส�ำคัญทำงสถิติ เมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุม   มำตรฐำน indomethacin ขนำด 20 มก./กก. อย่ำงมี
            (p < 0.01) [36]                             นัยส�ำคัญทำงสถิติ (p < 0.01) และวิธี tail flick assay

                 เมล็ดพริกไทยด�ำ ชื่อวิทยำศำสตร Piper    ให้สำร piperine 30 และ 50 มก./กก. ให้ผล reaction
            nigrum L. มีฤทธิ์ต้ำนกำรอักเสบ ลดอำกำรปวด   time เพิ่มขึ้นอย่ำงมีนัยส�ำคัญทำงสถิติ (p < 0.01)
                                                                                              [39]
            และข้ออักเสบ จำกกำรศึกษำฤทธิ์ต้ำนกำรอักเสบ       มหำหิงคุ (assafoetida) ชื่อวิทยำศำสตร Ferula

            ของเมล็ดพริกไทยด�ำในหลอดทดลอง วัดกำรอักเสบ  assa-foetida L. มีฤทธิ์ระงับอำกำรปวด จำกกำร
            ด้วย ELISA และ RT-PCR พบว่ำ สำมำรถยับยั้ง IL6,   ศึกษำฤทธิ์ในหนูทดลอง แบ่งเป็นกลุ่มได้รับมหำหิงคุ
            MMP13 และลดกำรผลิต PGE2 และยังสำมำรถ        ที่ควำมเข้มข้น 25, 50 และ 100 มก./กก. โดยกำรฉีด

            ยับยั้งกำรท�ำงำนของ AP-1 ไปยัง IL1β ได้ ขึ้นกับ  เข้ำเยื่อบุช่องท้อง 10 มล./กก. ทดสอบด้วยวิธี hot
            ควำมเข้มข้น 10-100 มก./กก. อย่ำงมีนัยส�ำคัญทำง  plate เทียบกับกลุ่มได้รับ morphine sulfate (8 มก./
            สถิติ เมื่อทดสอบฤทธิ์ระงับอำกำรปวดและข้ออักเสบ  กก.) และน�้ำกลั่น วัดค่ำ Maximum possible effect

            ในหนูทดลอง โดยประเมินจำกกำรบวมน�้ำที่อุ้งเท้ำ  (%MPE) พบว่ำ กลุ่มทดสอบได้รับมหำหิงคุ 50 มก./
            ด้วยกำรฉีดคำรำจีแนนและกำรอักเสบของข้อ โดย   กก. ที่เวลำ 15 นำที ได้ผลดีกว่ำกลุ่มควบคุมอย่ำงมี

            ให้สำร piperine ทำงปำก ที่ควำมเข้มข้น 20 และ   นัยส�ำคัญทำงสถิติ และวิธี acetic acid-induced
            100 มก./กก./วัน เป็นเวลำ 8 วัน พบว่ำ ช่วยลดอำกำร  writhing เทียบกับกลุ่มได้รับ sodium diclofenac
            ปวดจำกปลำยประสำทและลดอำกำรปวดข้อ ในวันที่   (30 มก./กก.) และน�้ำกลั่น พบว่ำ กลุ่มทดสอบได้รับ
   160   161   162   163   164   165   166   167   168   169   170