Page 154 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 154
568 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
ฝักราชพฤกษ์ มีสรรพคุณในการระบายท้อง แก้ลม โรคได้ในปัจจุบัน
พรรดึก จันทน์ทั้ง 2 ประกอบด้วย แก่นจันทน์แดง ต�ารับยาของหมอลินทร์ สิทธิพล มีองค์ประกอบ
[11]
มีสรรพคุณแก้พิษไข้ภายนอกและภายใน แก้ร้อนใน ของสมุนไพรในต�ารับจ�านวนไม่มาก จากการสืบค้น
กระหายน�้า ลดความร้อนและดับพิษไข้ทุกชนิด [11] ข้อมูลฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาที่ส�าคัญของสมุนไพร พบ
และแก่นจันทน์ขาว มีสรรพคุณแก้ร้อนในกระหาย กลุ่มสมุนไพรที่มีฤทธิ์กระตุ้นการเคลื่อนไหวของล�าไส้
น�้า บ�ารุงเลือดและลม แก้ตับ ปอดและดีพิการ ใบ (colonic motility) และฤทธิ์เป็นยาระบาย (laxative
[11]
มะกา มีสรรพคุณชักลมเบื้องสูงลงสู่เบื้องต�่า แก้พิษ effect) ได้แก่ ยาด�า เนื้อในฝักคูน และใบมะกา ซึ่ง
โลหิต ถ่ายพิษไข้ ถ่ายเสมหะและโลหิต ขมิ้นอ้อย มี เป็นกลุ่มของสมุนไพรที่มีการใช้ซ�้ามากที่สุดในต�ารับ
[12]
[16]
สรรพคุณ แก้ไข้ครั่นเนื้อครั่นตัว แก้พิษโลหิต ขับลม โดยยาด�า มีสารส�าคัญ คือ aloin A และเนื้อใน
[17]
[12]
และขับประจ�าเดือน กระพังโหม มีสรรพคุณในการ ฝักราชพฤกษ์ มีสาร fistulic acid ซึ่งเป็นสารใน
ขับลมในล�าไส้ แก้ไข้ แก้ท้องอืดท้องเฟ้อ แก้ธาตุพิการ กลุ่มแอนทราควิโนนกลัยโคไซด์ (anthraquinone
และระบายความร้อน โกฐทั้ง 5 เป็นพิกัดยาไทยที่ glycoside) ออกฤทธิ์ผ่านการกระตุ้นการบีบตัว
[13]
ประกอบด้วยสมุนไพร 5 ชนิด ได้แก่ โกฐเชียง โกฐสอ ของกล้ามเนื้อเรียบบริเวณผนังล�าไส้ใหญ่และกระตุ้น
โกฐหัวบัว โกฐเขมา และโกฐจุฬาลัมพา มีสรรพคุณแก้ การหลั่งน�้าภายในล�าไส้ใหญ่ เป็นผลให้เกิดการ
ไข้เพื่อเสมหะ แก้หืดไอ แก้โรคปอด บ�ารุงโลหิต และ ขับถ่าย [18-19] ส่วนใบมะกา มีสารส�าคัญในกลุ่มไทรเทอร์พีน
แก้ลมในกองธาตุ ข่า มีสรรพคุณในการขับลม แก้ (triterpenes) และฟีนิลโพรพานอยด์ (phenyl-
[14]
[12]
อาการท้องอืดเฟ้อ ขิง มีสรรพคุณแก้อาการท้องอืด propanoids) มีฤทธิ์เป็นยาระบายและใช้เป็นยา
[20]
ท้องเฟ้อ ขับลม แก้คลื่นไส้ อาเจียน วิงเวียน และบ�ารุง ลดไข้ ซึ่งในทางการแพทย์แผนไทย การใช้ยา
ธาตุไฟ และไพล มีสรรพคุณขับลมในล�าไส้ ขับโลหิต ระบายเป็นหนึ่งในวิธีการบ�าบัดโรคเลือดโรคลม
[12]
ประจ�าเดือน และบรรเทาอาการปวด ยอก เคล็ดของ เนื่องจากเป็นกระบวนการขับของเสียออกจาก
กล้ามเนื้อ อีกทั้งข่า ขิง และไพล ยังเป็นสมุนไพรที่ ร่างกาย และการระบายที่เป็นการขับลมหรือความร้อน
[12]
บรรจุอยู่ในรายการยาสมุนไพรตามสาธารณสุขมูลฐาน ซึ่งเป็นการกระตุ้นการท�างานของธาตุลมให้เกิดการ
ที่แนะน�าให้ประชาชนใช้ในการดูแลสุขภาพเบื้องต้น เคลื่อนที่ ส่งผลต่อการท�างานของระบบไหลเวียน
ด้วยตนเอง นอกจากนี้สมุนไพรในหลายต�ารับยังมี โลหิต ท�าให้เกิดความสมดุลของธาตุ ท�าให้เลือดลม
ความสอดคล้องกับยาในกลุ่มที่ใช้รักษาอาการทาง ไหลเวียน ช่วยกระจายลมที่คั่งค้าง อันเป็นเหตุท�าให้
ระบบไหลเวียนโลหิต (แก้ลม) ตามบัญชียาหลักแห่ง เกิดอาการเจ็บป่วย
ชาติ เช่น โกฐทั้ง 5 เทียนทั้ง 5 เกสรทั้ง 5 จันทน์ นอกเหนือจากการใช้ยาสมุนไพรในการรักษา
[15]
ทั้ง 2 ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ กระวาน กานพลู ซึ่งเป็น โรค หมอลินทร์ สิทธิพล ยังมีการให้ค�าแนะน�าในการ
สมุนไพรที่มักพบในต�ารับยาหอมและยาบ�ารุงเลือด ปฏิบัติตนของผู้ป่วย ได้แก่ การรับประทานอาหาร การ
แสดงให้เห็นถึงภูมิปัญญาในการตั้งต�ารับยาที่มีการ ดูแลความสะอาด ซึ่งชี้ให้เห็นถึงมิติของการรักษาแบบ
สืบทอดกันมาตั้งแต่อดีตและสามารถใช้ในการรักษา องค์รวมที่ไม่ได้มุ่งเน้นเพียงการรักษาตัวโรคเท่านั้น