Page 152 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 152

566 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 20  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2565




           ทั้งมีการใช้สืบทอดมาจากปู่และบิดา อาจไม่มีสูตร            อภิปรายผล

           ต�ารับเฉพาะแต่มีสูตรต�ารับหลักที่ใช้ในการรักษา โดย     จากผลการศึกษาในครั้งนี้ พบว่า หมอลินทร์
           อาจมีการเพิ่มเติมสมุนไพรบางตัวเพื่อเสริมฤทธิ์การ  สิทธิพล สืบทอดภูมิปัญญามาจากบรรพบุรุษและ

           รักษาเฉพาะผู้ป่วยแต่ละราย                   การสั่งสมประสบการณ์การรักษาโรคจนเกิดความไว้
                ในการจัดเตรียมยาสมุนไพรให้กับผู้ป่วยมัก  วางใจและความเชื่อถือของคนในชุมชน สอดคล้องกับ

           ท�าการห่อด้วยกระดาษ พร้อมทั้งมีการบริกรรมคาถา   การศึกษาก่อนหน้าที่พบว่า ภูมิหลังของหมอพื้นบ้าน
           ที่ชื่อว่า “อาการ 32’’ ซึ่งเป็นคาถาที่ได้รับการสืบทอด  ส่วนมากสืบทอดภูมิปัญญามาจากบรรพบุรุษ ผ่าน
           มาจากปู่ หมอจะท�าการท่องคาถา จ�านวน 1 ครั้ง ใน  การสั่งสมและเก็บประสบการณ์จนสามารถให้การ

           ระหว่างการเตรียมยาสมุนไพร โดยคาถาบทนี้มีเนื้อ  รักษาตามความช�านาญของตนเอง  ซึ่งมีความแตก
                                                                                 [4]
           ความเกี่ยวกับอวัยวะต่าง ๆ ในร่างกาย ดังนี้   ต่างกันไปตามองค์ความรู้และภูมิปัญญาที่ได้รับการ
                “อัฐฐิ อัฐฐิ มัสมิงกาเย เกศา โลมา นขา ทันตา   สืบทอดมา นอกจากการสืบทอดองค์ความรู้ หมอพื้น
           ตะโจ มังสัง นหารู อัฐฐิ อัฐฐิมิญชัง วักกัง หทยัง    บ้านมักได้รับการปลูกฝังด้านเจตคติให้มีพื้นฐานทาง

           กิโลมกัง ยกนัง ปิหกัง ปัปผาสัง อันตัง อันตคุณัง    จิตใจที่ต้องการช่วยเหลือผู้อื่น  และไม่มีการเก็บค่า
                                                                              [5]
           อุทริยัง กรีสัง ปิตตัง เสมหัง บุพโพ โลหิตตัง เสโท   รักษาจากผู้ป่วย เนื่องจากภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน

           เมโท อัสสุ วสา เขโฬ สิงฆานิกา ลสิกา มุตตัง มัตถ  เป็นการดูแลสุขภาพของประชาชนที่อาศัยความเชื่อ
           เกมัตถลุงคัง ติ’’                           ความศรัทธาและทรัพยากรในท้องถิ่นเป็นหลัก เช่น

                   4.2) วิธีการปรุงยาสมุนไพร           เดียวกับการศึกษาครั้งนี้ที่พบว่า หมอลินทร์ให้การ
                  เมื่อจัดต�ารับยาเสร็จแล้วหมอลินทร์ ท�าการ  รักษาโดยไม่เก็บค่ารักษาพยาบาล ซึ่งแสดงให้เห็น

           อธิบายเกี่ยวกับวิธีการต้มยา ขนาดรับประทาน วิธี  ว่าหมอพื้นบ้านเป็นผู้อุทิศตน มีความเสียสละ และ
           การเก็บรักษายาสมุนไพร และความเหมาะสมของ     มีความเมตตากรุณา สอดคล้องกับสิริพร จารุกิตติ์

           การใช้ต�ารับยา เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถต้มได้ตรงตาม  สกุล  ที่ระบุว่าหมอพื้นบ้านไม่มีการเรียกร้องเงินค่า
                                                          [6]
           วิธี ซึ่งวิธีต้มยาสมุนไพร คือ ให้น�ายาสมุนไพรที่จัด  รักษาและให้การรักษาด้วยความเมตตาจิต ไม่แบ่ง

           เตรียมเสร็จ ล้างด้วยน�้าสะอาด จากนั้นน�าไปต้มด้วย  ชนชั้น และอุทิศตนให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ที่เจ็บป่วย
           น�้าสะอาด โดยใส่น�้าให้ท่วมตัวยาสมุนไพรและใช้วิธี  ในฐานะที่ตนเป็นผู้มีความรู้ นอกจากนี้ หมอลินทร์
           ต้มเดือด เมื่อเดือดแล้วให้ต้มต่อไปอีกประมาณ 20   สิทธิพล ยังมีการประกอบพิธีกรรมที่เกี่ยวข้องกับ

           นาที เมื่อเสร็จแล้วท�าการกรองน�้ายาที่ได้จากการต้ม  ภูมิปัญญา ได้แก่ พิธีไหว้ครู การใช้คาถาในขั้นตอน
           เก็บไว้ในภาชนะ หากเป็นต�ารับสมุนไพรสด ตัวยาจะ  การเตรียมสมุนไพร ซึ่งชี้ให้เห็นถึงความสอดคล้อง

           ออกฤทธิ์เร็วสามารถต้มทานได้ 4-5 วัน หากเป็นต�ารับ  กับธรรมเนียมปฏิบัติของหมอพื้นบ้านในหลายพื้นที่
           สมุนไพรแห้ง ตัวยาจะค่อย ๆ ออกมา สามารถต้มทาน  ที่มีพิธีกรรมการไหว้ครู  เพื่อร�าลึกถึงบรรพบุรุษที่ได้
                                                                        [2]
           ได้ 6-7 วัน                                 สั่งสอนและมอบวิชาความรู้ในการรักษา อีกทั้งหมอ
   147   148   149   150   151   152   153   154   155   156   157