Page 153 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 153
J Thai Trad Alt Med Vol. 20 No. 3 Sep-Dec 2022 567
พื้นบ้านที่ใช้สมุนไพรในการรักษาเป็นหลัก จะมีการ หมอพื้นบ้านเกิดจากลมและเลือดในร่างกายไหลเวียน
ปลุกเสกหรือบริกรรมคาถาเครื่องยาก่อนให้ผู้ป่วยน�า ไม่สะดวก ใช้ยารสสุขุมร้อนเป็นกลุ่มยาหลักในการ
ไปต้มหรือรับประทาน เพื่อเป็นแรงเสริมในการรักษา รักษา เพื่อช่วยในการกระจายลมที่ติดขัด ท�าให้ระบบ
และเป็นการเสริมก�าลังใจให้ผู้ป่วย ไหลเวียนโลหิตท�างานได้ดีขึ้น เช่นเดียวกับการศึกษา
หมอลินทร์ สิทธิพล มีการตรวจวินิจฉัยโรคจาก ของเกศริน มณีนูนและคณะ พบว่า ภูมิปัญญาการ
[9]
การสังเกตอาการและค�าบอกเล่าของผู้ป่วย ร่วมกับ รักษาโรคโลหิตระดูสตรีของหมอพื้นบ้าน ซึ่งจัดอยู่
การใช้ยาสมุนไพรเป็นหลักในการรักษากลุ่มโรคเลือด ในกลุ่มของโรคเลือดโรคลม มีการใช้ยารสประธาน
โรคลม ซึ่งจ�าแนกได้ 16 โรค/อาการ ได้แก่ โรคเลือด รสร้อนในการบรรเทาอาการปวดและขับประจ�าเดือน
(ประจ�าเดือนมาไม่ปกติ) โรคโลหิตจาง ไข้ทับระดู/ระดู และใช้ยารสประธานรสสุขุม ส�าหรับการบ�ารุงโลหิต
ทับไข้ ไข้หน้าไฟ/ไข้หลังไฟ โรคลม (อาการวัยทอง) ไข้ และปรับการท�างานของธาตุลมและธาตุไฟ จาก
เพื่อเลือดเพื่อลม อาการตกขาว ไข้ตานซางในเด็ก ไข้ ข้อมูลข้างต้นแสดงให้เห็นถึงความสอดคล้องทาง
ดีซ่าน อาการท้องผูก อาการท้องอืด ผื่นเม็ดแผลเปื่อย ด้านภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้านในการวิเคราะห์โรค
ไฟลามทุ่ง ฟกช�้า หอบหืด และอาการอ่อนล้าจากการ และการรักษาโรคด้วยสมุนไพร อีกทั้งมุมมองในการ
ท�างาน โดยสาเหตุการเกิดโรคส่วนมากเกิดจากความ เกิดโรคเลือดโรคลมตามแนวคิดของหมอพื้นบ้านยัง
ผิดปกติหรือความไม่สมดุลของเลือดและลมภายใน มีความสัมพันธ์กัน ถึงแม้จะอยู่ในพื้นที่ต่างกัน ซึ่งชี้
ร่างกาย ในการรักษามักใช้ต�ารับยาต้มรับประทาน ให้เห็นถึงรากฐานที่มั่นคงของภูมิปัญญาการแพทย์
โดยพบต�ารับยาที่ใช้ในการรักษาโรคทั้งหมด 19 ต�ารับ พื้นบ้านที่ยังคงมีการสืบต่อมาจนถึงปัจจุบัน และเป็น
จ�าแนกตามชนิดของสมุนไพรได้จ�านวน 69 ชนิด หาก พื้นฐานส�าคัญของการศึกษาหลักการและองค์ความรู้
พิจารณาตามรสยาพบว่า รสประธานหลักของสมุนไพร ทางการแพทย์แผนไทยในระบบการศึกษา
ส่วนใหญ่เป็นรสร้อนและรสสุขุม ซึ่งภูมิปัญญาการใช้ จากการศึกษาเกี่ยวกับต�ารับยารักษาโรคของ
ต�ารับยาของหมอลินทร์มีความสอดคล้องกับทฤษฎี หมอลินทร์ สิทธิพล ทั้งหมด 19 ต�ารับ พบสมุนไพร
สมุฏฐานการเกิดโรคเลือดโรคลมทางการแพทย์แผน ที่ใช้ประกอบต�ารับยามากที่สุด คือ ยาด�า เนื้อในฝัก
ไทยตามคัมภีร์ชวดาร กล่าวคือ เมื่อเลือดหรือโลหิต ราชพฤกษ์ และแก่นจันทน์ทั้ง 2 พบการใช้ซ�้าจ�านวน
กระท�าพิษ มักอาศัยก�าลังของลม ท�าให้เกิดความผิด 6 ต�ารับ รองลงมา คือ ใบมะกา และขมิ้นอ้อย พบ
ปกติของธาตุทั้ง 2 กระทบต่อธาตุอื่นในร่างกาย ดังนั้น การใช้ซ�้าจ�านวน 5 ต�ารับ และ กระพังโหม โกฐทั้ง
[7]
การรักษาควรใช้ยารสร้อนเพื่อช่วยในการกระจายลม 5 ข่า ขิง และไพล พบการใช้ซ�้าจ�านวน 4 ต�ารับ เมื่อ
และโลหิต และรสสุขุมเพื่อควบคุมความร้อนของเลือด พิจารณาตามสรรพคุณทางเภสัชกรรมไทย พบว่า
และก�าลังของลมไม่ให้กระท�าโทษ อีกทั้งยังสอดคล้อง ยาด�า มีสรรพคุณช่วยถ่ายลมเบื้องสูงให้ลงเบื้อง
กับการศึกษาของสรวิศ เกสรมาศและคณะ พบว่า ต�่า ฟอกเสมหะและโลหิต เป็นยาแทรกส�าหรับ
[8]
กลุ่มโรคลมและโรคเลือดสตรีตามมุมมองของ กระตุ้นการท�างานของลมในล�าไส้และระบบขับถ่าย [10]