Page 139 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 139
J Thai Trad Alt Med Vol. 20 No. 3 Sep-Dec 2022 553
ควบคุมการเคลื่อนไหวและพัดพาเลือดไปเลี้ยงอวัยวะ ผสานหลักการทางแพทย์แผนไทยในระบบการศึกษา
ต่าง ๆ ของร่างกาย หากธาตุทั้ง 2 มีความผิดปกติ ส่งผล ร่วมกับองค์ความรู้ของหมอพื้นบ้าน เช่น การรักษา
ให้ธาตุอื่นในร่างกายผิดปกติตามไปด้วย ดังเนื้อความ โรคหมอนรองกระดูกทับเส้นจากภูมิปัญญาการรักษา
[1]
ในคัมภีร์ชวดาร ซึ่งเป็นคัมภีร์ที่ว่าด้วยโรคลมและ ของหมอประวิทย์ แก้วทอง การรักษาโรคผิวหนังจาก
โรคเลือด กล่าวว่า “สิทธิการิยะ อาจารย์กล่าวไว้ว่า ภูมิปัญญาการรักษาของหมอสมพร ชาญวณิชย์สกุล
มนุษย์ทั้งหลายจะเกิดสรรพโรคต่าง ๆ ตั้งแต่คลอด อีกทั้งยังมีอาจารย์แพทย์แผนไทยอาวุโส ซึ่งเป็นครู
จากครรภ์มารดาตราบเท่าจนอายุขัย อาศัยโลหิตแล แพทย์พื้นบ้านที่มีองค์ความรู้ในการรักษาโรคให้การ
ลม แลล�าดับนั้นจักส�าแดงซึ่งลมอันบังเกิดโทษ ให้ บ�าบัดรักษาภายในโรงพยาบาล เช่นเดียวกับการ
ถึงพินาศฉิบหายเป็นอันมาก’’ ซึ่งสื่อให้เห็นถึงความ ศึกษาครั้งนี้ เป็นการศึกษาการรักษาโรคเลือดโรค
ส�าคัญของธาตุทั้ง 2 ต่อการเกิดความเจ็บป่วยใน ลมตามภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้านไทยภาคใต้ กรณี
มนุษย์ ศึกษาหมอลินทร์ สิทธิผล อ�าเภอท้ายเหมือง จังหวัด
ปัจจุบันการแพทย์พื้นบ้านไทย อาจมีบทบาท พังงา เพื่อน�าข้อมูลมาประยุกต์ในการบ�าบัดโรคของ
ลดลงตามการเติบโตทางด้านการแพทย์แผนปัจจุบัน ผู้ป่วยในระดับคลินิก โดยวัตถุประสงค์ของการศึกษา
ที่มีการกระจายตัวอย่างแพร่หลายในชุมชนหรือ ครั้งนี้ คือ เพื่อรวบรวมองค์ความรู้ภูมิปัญญาการ
เมืองต่าง ๆ แต่อย่างไรก็ตาม หมอพื้นบ้านนับเป็นผู้ แพทย์แผนไทย ทฤษฎีการวินิจฉัยโรค หลักการรักษา
สืบทอดกระบวนการรักษาและมีบทบาทในการดูแล โรค ต�ารับยาและสมุนไพรที่ใช้ในการรักษาโรคของ
สุขภาพของคนในท้องถิ่น จากการศึกษาก่อนหน้า หมอลินทร์ สิทธิพล หมอพื้นบ้านอ�าเภอท้ายเหมือง
เกี่ยวกับองค์ความรู้และภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน จังหวัดพังงา
พบว่า หมอพื้นบ้านกับชาวบ้านมีความผูกพันกันด้วย
ความเชื่อและความศรัทธาที่สืบทอดมาจากบรรพบุรุษ ระเบียบวิธีศึกษา
องค์ความรู้มีความสัมพันธ์และสอดคล้องกับวิถีชีวิต การศึกษานี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ
วัฒนธรรมและประเพณีของชุมชน อีกทั้งสามารถ (qualitative study) ท�าการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบ
[2]
เข้าไปมีส่วนร่วมและรับรู้รูปแบบวิธีการรักษาโรคได้ เจาะจง (purposive sampling) พิจารณาจากลักษณะ
จากเหตุผลดังกล่าวจึงท�าให้หมอพื้นบ้านยังคงมี ของกลุ่มตัวอย่างให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของ
บทบาทต่อสุขภาพของประชาชนมาถึงปัจจุบัน การศึกษา ดังนั้นการศึกษาครั้งนี้จึงเลือกหมอลินทร์
โรงพยาบาลการแพทย์แผนไทย คณะการแพทย์ สิทธิพล ซึ่งเป็นผู้มีความรู้ความช�านาญในด้านการ
แผนไทย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นหน่วยงาน รักษาโรคเลือดโรคลมด้วยสมุนไพร อีกทั้งเป็น
ที่ยังคงให้ความส�าคัญกับระบบการแพทย์พื้นบ้าน มี หมอพื้นบ้านที่มีประสบการณ์ในการรักษาโรคมา
การรวบรวมภูมิปัญญา สืบสานและน�าแนวทางการ มากกว่า 10 ปี และได้รับการยอมรับของคนในพื้นที่
รักษาของหมอพื้นบ้านมาประยุกต์ใช้ในการรักษา อ�าเภอท้ายเหมือง จังหวัดพังงา โดยศึกษาภายใต้
ผู้ป่วย มีการพัฒนาแนวเวชปฏิบัติการรักษาโรคโดย กรอบแนวคิดการศึกษา ตามภาพที่ 1