Page 135 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 135

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 20  No. 3  Sep-Dec  2022  549




            ด้วยน�้า ปริมาณสิ่งสกัดด้วยเอทานอล 95% และ  ทางเคมี พบว่าเกณฑ์ข้อก�าหนดทางกายภาพและทาง
            ปริมาณรวมของสาร phenolic ค�านวณในรูป gallic   เคมีของใบชะมวงแห้งควรเป็นดังนี้ ปริมาณความชื้น

            acid ในสภาวะที่ท�าให้แห้ง (on dried-basis) ด้วยวิธี   ปริมาณเถ้ารวม และปริมาณเถ้าที่ไม่ละลายในกรด
            Folin-Ciocalteau’s พบว่ามีค่าเฉลี่ย ± ส่วนเบี่ยงเบน  ควรมีค่าไม่เกินร้อยละ 8, 7 และ 1 โดยน�้าหนัก ตาม
            มาตรฐาน (SD) เท่ากับ ร้อยละ 6.98 ± 0.81, 5.88 ±   ล�าดับ ส�าหรับปริมาณสิ่งสกัดด้วยน�้า และปริมาณสิ่ง

            1.26, 0.03 ± 0.03, 25.02 ± 5.85, 22.09 ± 6.43 และ   สกัดด้วยเอทานอล 95% ควรมีค่าไม่น้อยกว่าร้อยละ
            2.36 ± 1.39 โดยน�้าหนัก ตามล�าดับ (ตารางที่ 5) ทั้งนี้   23.0 และ 20.0 โดยน�้าหนัก ตามล�าดับ และปริมาณ
            การประเมินคุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมีของ   รวมของสาร phenolic ค�านวณในรูป gallic acid

            ใบชะมวงแห้งในวิธีการต่าง ๆ ที่กล่าวมา ค่าที่น�ามา  (on dried-basis) ควรมีค่าไม่น้อยกว่าร้อยละ 2.0
            ใช้ในการจัดท�าเกณฑ์หรือข้อก�าหนดทางเคมีได้จาก  โดยน�้าหนัก (ตารางที่ 5) ผลจากการศึกษานี้สามารถ
            การค�านวณทางสถิติ โดยแสดงเป็น ค่าเฉลี่ย +10%   ใช้เป็นแนวทางในการจัดท�าข้อก�าหนดมาตรฐานทาง

            ส�าหรับเกณฑ์สูงสุดที่ยอมรับได้ ที่ระบุว่า “ไม่เกิน’’   เคมีของใบชะมวงแห้งในต�ารามาตรฐานยาสมุนไพร
            เช่น ปริมาณความชื้นด้วยวิธี gravimetric ปริมาณ  ไทย เพื่อใช้ในการควบคุมคุณภาพของใบชะมวงใน

            เถ้ารวม ปริมาณเถ้าที่ไม่ละลายในกรด และแสดง  ประเทศไทยต่อไป
            เป็นค่าเฉลี่ย –10% ส�าหรับเกณฑ์ต�่าสุดที่ยอมรับได้
            ที่ระบุว่า “ไม่น้อยกว่า’’ เช่น ปริมาณสิ่งสกัดด้วยน�้า   กิตติกรรมประก�ศ

            ปริมาณสิ่งสกัดด้วยเอทานอล 95% และปริมาณรวม       ขอขอบคุณเจ้าหน้าที่ทุกท่านในห้องปฏิบัติ
            ของสาร phenolic ค�านวณในรูป gallic acid (on   การวิจัยเพื่อแยกสารส�าคัญจากสมุนไพร และห้อง

            dried-basis) (ตารางที่ 5)                   ปฏิบัติการพิพิธภัณฑ์พืช สถาบันวิจัยสมุนไพร และ
                 ผลจากการศึกษานี้สามารถเสนอเข้าสู่การ   กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ให้การสนับสนุนในการ
            พิจารณาบรรจุเป็นมอโนกราฟ (monograph) ของ    ศึกษานี้

            วัตถุดิบสมุนไพรใบชะมวงในต�ารามาตรฐานยา
            สมุนไพรไทย เพื่อเป็นต�าราอ้างอิงของประเทศต่อไป             References
                                                          1.  Office of Forest Herbarium, Forest and Plant Conserva-
                             ข้อสรุป                        tion Research Office, Department of National Parks,
                                                            Wildlife and Plant Conservation. Tem Smitinand’s Thai
                 จากผลการศึกษาเอกลักษณ์ทางเคมีเบื้องต้น     plant names. 2001 revised edition. Bangkok: National
                                                            Office of Buddhism Printing House; 2001. 71 p. (inThai)
            ด้วยปฏิกิริยาการเกิดสีพบว่าใบชะมวงแห้งทุกตัวอย่าง    2.  Boonyaprapat N, Chokchaicharoenporn O. Medicinal
            ให้ผลบวกกับกลุ่ม flavonoids และ phenolic จาก    plants indigenous to Thailand. Bangkok: Prachachon;
                                                            1996. 1(1): p. 761. (in Thai)
            ผลการพิสูจน์เอกลักษณ์ทางเคมีด้วยวิธี Thin Layer     3.  Jena BS, Jayaprakasha GK, Sakariah KK. Organic acids

            Chromatography พบว่าตัวอย่างจ�านวน 13 ตัวอย่าง   from leaves, fruits, and rinds of Garcinia cowa. J Agric
            ให้ผลบวกกับกลุ่ม flavonoids และตรวจพบสาร        Food Chem. 2002;50(12):3431-4.
                                                          4.  Pattamadilok D, Setakanna P, Kamphonchaidech S,
            orientin จากผลการศึกษาคุณสมบัติทางกายภาพและ     Anulakkanapakorn K, Wongsinkongman P. Chemical
   130   131   132   133   134   135   136   137   138   139   140