Page 142 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 142

556 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 20  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2565




           ลินทร์เกิดการสะสมองค์ความรู้ในการรักษาผ่านทาง  ตั้งแต่บรรพบุรุษ) และช่วงเย็น ท�าการประกอบพิธีไหว้
           ทักษะการสังเกต การจดจ�า การฝึกคิดและวิเคราะห์  ครูหมอ (ปู่, บิดา และผู้ที่ให้ความรู้แก่หมอ) ในการ

           ตัวยาสมุนไพร และกระท�าซ�้า ๆ จนเกิดความช�านาญ   ประกอบพิธีกรรมเริ่มต้นด้วยการกล่าวบทสวดนะโม
           เมื่อหมอลินทร์อายุได้ 40 ปี ได้รับความไว้วางใจจาก  3 จบ และท่องคาถา ประกอบกับจัดวางเครื่องไหว้ครู

           บิดาและเริ่มให้การรักษาผู้ป่วยด้วยตนเอง และท�า  ได้แก่ ข้าวตอก ดอกไม้ ธูปเทียน หมากพลู แป้งจันทร์
           ต่อเนื่องมาเรื่อย ๆ จนเกิดความน่าเชื่อถือและนับถือ  ข้าวเหนียว ข้าวเจ้า มะพร้าวอ่อน บายศรี พานและเงิน

           ของคนในชุมชน ตลอดจนให้ความสนใจในการรักษา    จ�านวน 9 บาท
           โดยใช้ยาต้มสมุนไพร อีกทั้งหมอลินทร์มีการเรียนรู้     5) การถ่ายทอดความรู้ของหมอพื้นบ้าน

           และฝึกทักษะเพิ่มเติมจากการอ่านหนังสือและต�ารา      ปัจจุบันหมอลินทร์ สิทธิพล ได้ถ่ายทอด
           ต่าง ๆ รวมทั้งเข้าร่วมการอบรมเพิ่มเติม ณ จังหวัด  ภูมิปัญญาการใช้สมุนไพรให้แก่บุตรชายของตนเอง

           สงขลาและกรุงเทพฯ                            เพื่อเป็นการสืบทอดองค์ความรู้การรักษาโรคไม่ให้
                3) การปฏิบัติตนของหมอพื้นบ้าน          สูญหาย แต่อย่างไรก็ตาม การถ่ายทอดความรู้นั้นจะ

                หมอลินทร์ สิทธิพล มีการดูแลสุขภาพของ   ส�าเร็จได้ขึ้นอยู่กับความตั้งใจและการให้ความสนใจ
           ตนเอง โดยรับประทานอาหารวันละ 2 มื้อ คือ มื้อเช้า  ของผู้ถูกถ่ายทอด หากไม่มีความตั้งใจในการเรียนรู้

           ประมาณ  9.00 น. และมื้อเย็น ประมาณ 18.00 น. นอน  และหมั่นฝึกฝน อาจจะเป็นเรื่องที่ยาก
           หลับให้เพียงพอ ประมาณ 8-9 ชั่วโมงต่อวัน และไม่     6) ความเชี่ยวชาญด้านภูมิปัญญาการรักษาโรค

           ควรนอนกลางวัน หากมีอาการไม่สบาย หมอจะท�าการ     จากการศึกษาครั้งนี้ พบว่า หมอลินทร์ สิทธิพล
           ต้มยาสมุนไพรรับประทาน เพื่อบรรเทาอาการเจ็บป่วย  มีความช�านาญในการรักษาโรคเลือดโรคลม จ�าแนก

           ของตนเองและคนในครอบครัว                     ได้ 16 กลุ่มโรค/อาการ ได้แก่ โรคเลือด (ประจ�า
                4) ความเชื่อและพิธีกรรม                เดือนมาไม่ปกติ) โรคโลหิตจาง ไข้ทับระดู/ระดูทับไข้

                หมอลินทร์ สิทธิพล มีการประกอบพิธีกรรม  ไข้หน้าไฟ/ไข้หลังไฟ โรคลม (อาการวัยทอง) ไข้
           ไหว้ครู โดยจัดพิธีจ�านวน 1 ครั้งในช่วงเดือน 4 หรือ  เพื่อเลือดเพื่อลม อาการตกขาว ไข้ตานซางในเด็ก

           เดือน 6 (ตามช่วงเดือนไทย) พิธีไหว้ครูแบ่งออกเป็น   ไข้ดีซ่าน อาการท้องผูก อาการท้องอืด ผื่นเม็ดแผล
           2 ช่วงเวลา ได้แก่ ช่วงเช้า ท�าการประกอบพิธีไหว้พ่อ  เปื่อย ไฟลามทุ่ง ฟกช�้า หอบหืด และอาการอ่อนล้า

           ท่าน (พระอาจารย์ที่นับถือและสั่งสอนให้วิชาความรู้  จากการท�างาน (ตารางที่ 1)
   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146   147