Page 144 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 144
558 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
ควรดูแลความสะอาดของร่างกาย ไม่ให้อับชื้น อาหารแสลง คือ อาหารที่มีไขมันสูง อาหารประเภท ของทอด และอาหารที่มีส่วนประกอบของกะทิ - อาหารแสลง คือ เม็ดมะม่วงหิมพานต์ ยอดใบ มะม่วงหิมพานต์ ยอดผักต่าง ๆ และอาหาร - ควรหมั่นดูแลความสะอาดของร่างกายโดยเฉพาะ ออกก�าลังกายเพื่อให้ธาตุลมในร่างกายขยับ วิธีการ ออกก�าลังกายที่ง่ายที่สุด คือ การเดิน
ค�าแนะน�า หมักดอง บริเวณช่องคลอด
การรักษา ยาต้มรับประทาน ยาต้มรับประทาน ยาต้มรับประทาน ยาต้มรับประทาน
มีไข้ มีตุ่มใสขึ้นภายในปาก กลืนน�้าลายล�าบาก ไม่ยอม ดื่มนม มีผื่นสีแดงขึ้นบริเวณ ผิวหนังทั่วร่างกาย ผื่นมี ลักษณะเหมือนหนังปลา กระเบน และมีอาการ มีไข้ ปลายมือปลายเท้าเย็น ตัวเหลือง ตาเหลือง ไม่ อยากอาหาร อ่อนเพลีย และอาจมีอาการท้องผูก มีสีขาวขุ่นเหมือนน�้าซาวข้าว (ระยะเริ่มแรก) หากไม่รักษา ปล่อยทิ้งไว้เป็นระยะ เวลานาน ก็จะท�าให้มีสีเหลือง หรือสีเขียว มีกลิ่นเหม็น และ
อาการที่พบ ท้องผูก หมู อุจจาระแพะ
ตารางที่ 1 ภูมิปัญญาการรักษาโรคเลือดโรคลมของหมอลินทร์ สิทธิพล (ต่อ)
เป็นโรคที่มักเกิดขึ้นในเด็กอายุ 1-3 ขวบ แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ตานเสี้ยน และ ตานเปื่อย เกิดจาก ร่างกายมีความร้อนสูงขึ้น จึงระบายความร้อนออก ทางผิวหนังเกิดเป็นเม็ดผื่น และท�าให้เด็กท้องผูก เนื่องจากไม่มีการขับถ่ายของเสียออก ส่งผลให้ *อาการของตานเสี้ยน ถ้าหากมีอาการเกิน 10 วัน โรคจะมีความรุนแรงมากขึ้นอาจกลายเป็นแผลเปื่อย มีน�้าเหลืองไหลซึม เรียกว่า ตานเปื่อย เป็นอาการของไข้ที่ท�าให้
นิยามโรค / สาเหตุ ความร้อนสุมใน เกิดจากเชื้อไวรัสที่ตับ และการไม่รักษาความสะอาด จากทวารได้ยาก
ชื่อโรค/อาการ 7. ไข้ตานซางในเด็ก 8. ไข้ดีซ่าน 9. อาการตกขาว 10. อาการท้องผูก