Page 134 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 134

548 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 20  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2565




                                 [5]
           sitosterol เป็นองค์ประกอบ  ดังนั้นในการศึกษานี้  นั้น หมายถึง สิ่งที่คงเหลืออยู่จากการเผาไหม้อย่าง
           จึงได้เลือกใช้สาร orientin เป็นสารเทียบ (marker)   สมบูรณ์ เถ้าของพืชส่วนใหญ่ประกอบด้วยด่าง ใน

           ในการตรวจสอบองค์ประกอบทางเคมีของใบชะมวง     รูปคาร์บอเนต (carbonate) ฟอสเฟต (phosphate)
           แห้ง ส�าหรับผลการพิสูจน์เอกลักษณ์ทางเคมีด้วยวิธี   คลอไรด์ (chloride) และซัลเฟต (sulphate) ปริมาณ
           Thin Layer Chromatography โดยท�าปฏิกิริยากับ  เถ้ารวม เป็นการบ่งบอกถึงคุณสมบัติทางกายภาพของ

           สารละลายทดสอบ NP/PEG ซึ่งเป็นสารเคมีที่ให้ผล  สมุนไพรตามธรรมชาติ เถ้าของพืชมีการละลายได้ดีใน
           บวกในการท�าปฏิกิริยากับสารกลุ่ม flavonoids จาก  hydrochloric acid มีสารคงเหลือจากการเผาไหม้
           ผลการทดสอบ พบว่าสารสกัดด้วยเอทานอลจากใบ     น้อย การวิเคราะห์ปริมาณเถ้าที่ไม่ละลายในกรดจึง

           ชะมวงแห้งมีองค์ประกอบทางเคมี 10 ชนิด และพบ  เป็นวิธีตรวจสอบสิ่งแปลกปลอมที่เป็นสารอนินทรีย์
           ว่ามีตัวอย่าง จ�านวน 13 ตัวอย่าง ตรวจพบสารที่มีค่า   เช่น หิน กรวด หรือทราย ที่เกิดขึ้น ในกระบวนการ
           hR f  และสีตรงกันกับสารมาตรฐาน orientin ที่ค่า hR f    เก็บเกี่ยวและท�าความสะอาด หรืออาจมีสิ่งแปลก

           เท่ากับ 71-72 (ตารางที่ 2 และภาพที่ 2) ส�าหรับตัวอย่าง  ปลอมที่ได้จากปุ๋ยเคมี การก�าหนดมาตรฐานปริมาณ
           ใบชะมวง จ�านวน 4 ตัวอย่าง ที่เก็บมาจากจังหวัดทาง  เหล่านี้จึงต้องระบุว่า “ไม่เกิน’’ โดยทั่วไปสมุนไพร

           ภาคใต้ ได้แก่ จังหวัดตรัง จังหวัดสุราษฎร์ธานี และ  ไม่ควรมีปริมาณความชื้นมากกว่าร้อยละ 10 โดยน�้า
           จังหวัดนครศรีธรรมราช นั้น ได้ผ่านการตรวจพิสูจน์  หนัก ปริมาณเถ้ารวมจะมีค่าอยู่ที่ร้อยละ 1-20 โดยน�้า
           เอกลักษณ์ทางเภสัชเวชแล้วว่าเป็นใบชะมวงจริง แต่  หนัก และปริมาณเถ้าที่ไม่ละลายในกรดจะมีค่าอยู่ที่

           เป็นอีกสายพันธุ์หนึ่ง โดยนักพฤกษศาสตร์ ห้องปฏิบัติ  ร้อยละ 1-10 โดยน�้าหนัก [16-21]  ส่วนการวิเคราะห์
           การพิพิธภัณฑ์พืช สถาบันวิจัยสมุนไพร มีโครมาโท-  ปริมาณสารสกัดด้วยตัวท�าละลาย ในการศึกษานี้เลือก

           แกรมต่างไปจาก 13 ตัวอย่าง ที่กล่าวมาข้างต้น ทั้งนี้  ใช้น�้าและเอทานอล 95% เป็นตัวท�าละลาย ปริมาณสิ่ง
           อาจเป็นเพราะความแตกต่างของสายพันธุ์ อายุต้น  สกัดด้วยน�้า และปริมาณสิ่งสกัดด้วยเอทานอล 95%
           สมุนไพร ระยะเวลาในการเก็บเกี่ยว สภาพดินและแร่  เป็นสิ่งบ่งชี้ถึงคุณภาพทางเคมี เนื่องจากบ่งชี้ถึงสาร

           ธาตุ หรืออาจจะเป็นเพราะสภาพภูมิประเทศหรือภูมิ  ที่ออกฤทธิ์หรือกลุ่มของสารออกฤทธิ์หรือสารที่ได้
           อากาศ ซึ่งต้องมีการศึกษาต่อไป               จากการสกัดด้วยตัวท�าละลายแล้วน�าไปใช้ประโยชน์
                การประเมินคุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี  ทางยาได้ การหาปริมาณสารส�าคัญในใบชะมวงแห้ง

           ของใบชะมวง ปริมาณความชื้นด้วยวิธี gravimetric   ในการศึกษานี้ได้วิเคราะห์ปริมาณโพลีฟีนอลรวม
           ปริมาณเถ้ารวมและเถ้าที่ไม่ละลายในกรด การก�าหนด  เนื่องจากสารกลุ่ม phenolic ในสารสกัดใบชะมวงเป็น
                                                                            [7]
           ปริมาณความชื้นมีความส�าคัญในการควบคุมคุณภาพ  สารที่มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ  การก�าหนดมาตรฐาน
           ทางเคมีเนื่องจากความชื้นมีผลต่อความคงสภาพของ  ปริมาณเหล่านี้จึงต้องระบุว่า “ไม่น้อยกว่า’’ จากผล
           ตัวอย่าง ถ้ามีความชื้นมากจะท�าให้สมุนไพรเกิดการ  การทดสอบเมื่อศึกษาคุณสมบัติทางกายภาพและทาง

           ปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์และเชื้อราได้ง่าย รวมทั้งอาจ  เคมีในใบชะมวงแห้ง จ�านวน 17 ตัวอย่าง โดยวิเคราะห์
           เกิดปฏิกิริยาการสลายตัวด้วยน�้า (hydrolysis) ท�าให้  ปริมาณความชื้นด้วยวิธี gravimetric ปริมาณเถ้า
           องค์ประกอบทางเคมีเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ส่วนเถ้า  รวม ปริมาณเถ้าที่ไม่ละลายในกรด ปริมาณสิ่งสกัด
   129   130   131   132   133   134   135   136   137   138   139