Page 105 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 105

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 20  No. 3  Sep-Dec  2022  519



                           อภิปรำยผล                    เอทานอลของต�ารับมีฤทธิ์ยับยั้งการหลั่งสาร IL-6 ซึ่ง

                 โรคมะเร็งในเพศหญิงที่พบได้บ่อยมีมากมาย  สารดังกล่าวเป็นสารไซโตไคน์ในกระบวนการอักเสบที่

            หลายชนิด เช่น มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก มะเร็ง  กระตุ้นให้เกิดการอักเสบเรื้อรังและยังมีผลท�าให้เกิด
                                     [23]
            รังไข่ และมะเร็งมดลูก เป็นต้น  จากต�ารายาของ  การกลายพันธุ์ของเซลล์ส่งผลให้เกิดเป็นเซลล์มะเร็ง
                                                            [25]
            กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์พบว่ามีการกล่าวถึง  ขึ้นได้  ดังนั้นการที่สารสกัดชั้นเอทานอลของต�ารับ
            ต�ารับยาแก้มะเร็งในมดลูกที่ประกอบด้วยสมุนไพร   ยาแก้มะเร็งในมดลูกสามารถยับยั้ง IL-6 ได้นั้นจะส่ง
            6 ชนิดน�ามาต้มและให้ผู้ป่วยรับประทานเพื่อรักษา  ผลดีที่จะสามารถลดอาการอักเสบและลดอัตราการก

            โรคมะเร็งในมดลูก จากการศึกษาในระดับหลอด     ลายพันธุ์ของเซลล์ได้ ในการออกฤทธิ์ของต�ารับนั้น
            ทดลองพบว่าสารสกัดเอทานอลและสารสกัดน�้าของ   คาดว่าน่าจะมาจากสมุนไพรเดี่ยวในต�ารับเนื่องจาก
            ต�ารับยาดังกล่าวไม่มีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของ  สารสกัดชั้นเอทานอลของหัวข้าวเย็นใต้ และราก

            เซลล์มะเร็งมดลูกและเซลล์มะเร็งรังไข่ ถึงแม้ว่าสาร  นมแมวพบว่ามีฤทธิ์เช่นเดียวกับสารสกัดชั้นเอทานอล
            สกัดสมุนไพรเดี่ยวในต�ารับ ได้แก่ สารสกัดเอทานอล   ของต�ารับ สารส�าคัญที่พบในสารสกัดชั้นเอทานอล
            ของรากนมแมว หัวข้าวเย็นใต้ และหนอนตายหยาก   ของหัวข้าวเย็นใต้ยังพบว่ามีรายงานเกี่ยวกับฤทธิ์ต้าน

            จะมีฤทธิ์ยับยั้งเซลล์มะเร็งมดลูกก็ตาม เหตุผล   การอักเสบที่ดีเช่นกัน [8,10-11]  ส่วนสารสกัดพุทธรักษา
            ดังกล่าวอาจเกิดจากสัดส่วนของสารสกัดสมุนไพร  นั้นนอกจากจะพบว่าสามารถยับยั้ง IL-6 ได้ ก็ยังพบ
            เดี่ยวที่มีปริมาณลดลง เมื่อน�ามาผสมเป็นต�ารับจึง  รายงานการศึกษาก่อนหน้าที่แสดงให้เห็นว่าสารสกัด

            อาจท�าให้ฤทธิ์ยับยั้งเซลล์มะเร็งนั้นมีค่าลดลงตามไป  ชั้นเอทานอลของพุทธรักษาสามารถยับยั้งไซโตไคน์
            ด้วย ในกรณีของสมุนไพรหัวข้าวเย็นใต้นั้นมีรายงาน  ในกระบวนการอักเสบตัวอื่น ๆ ได้แก่ PGE2, NO,

                                                                 [7]
            ก่อนหน้านี้พบว่าสมุนไพรดังกล่าว ประกอบด้วย  และ IL-1b  นอกจากการยับยั้งสารในกระบวนการ
            สารส�าคัญหลายชนิด ได้แก่ 2,4-dimethoxy-5,6-  อักเสบแล้ว สารสกัดชั้นเอทานอลของต�ารับยังมีส่วน
            dihydroxy-9,10-dihydrophenanthrene, 5-hy-   ช่วยยับยั้งเชื้อรา Candida albicans ซึ่งเป็นหนึ่งใน

            droxy-2,4,6-trimethoxy-9,10-dihydrophen-    สาเหตุของการกระตุ้นให้เซลล์บริเวณอวัยวะสืบพันธุ์
            anthrene, 5,6,2-trihydroxy 3,4-methoxy,     เกิดการกลายพันธุ์และเปลี่ยนเป็นเซลล์มะเร็งได้อัน

                                                                                   [2]
            9,10-dihydrophenanthrene, diosgenin-(3-O-   เนื่องมาจากสารพิษที่เชื้อราสร้างขึ้น  การออกฤทธิ์
            α-L-rhamnopyranosyl (1→2)-b-D-glucopyran-   ของสารสกัดชั้นเอทานอลของต�ารับน่าจะเกิดจาก
            oside, dioscoreanone และ dioscorealides B ซึ่งมี  สารส�าคัญในสมุนไพรเดี่ยวเนื่องจากในการทดสอบ

            ฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งปากมดลูก   พบว่าสารสกัดชั้นเอทานอลของหัวข้าวเย็นใต้และ
            เซลล์มะเร็งเต้านม เซลล์มะเร็งต่อลูกหมาก เซลล์  รากนมแมวสามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อรา
                                      [8,24]
            มะเร็งปอด และเซลล์มะเร็งตับได้  ดังนั้นการที่หัว  C. albicans ได้เช่นกัน
            ข้าวเย็นใต้สามารถยับยั้งเซลล์มะเร็งมดลูกได้นั้นน่าจะ     ในส่วนของกลุ่มสารเคมีที่พบในสารสกัด
            เกิดจากผลของสารต่าง ๆ ที่เคยพบรายงานก่อนหน้า  นั้นพบว่าสารสกัดชั้นเอทานอลของต�ารับมีปริมาณ
            ในส่วนของฤทธิ์ต้านการอักเสบนั้น พบว่าสารสกัดชั้น  ฟีนอลิกรวมสูงกว่าสารสกัดชั้นน�้าซึ่งน่าจะเกิดจาก
   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110