Page 100 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
P. 100
298 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
และคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยดีขึ้นอย่างมีนัยส�าคัญทาง ของผู้มารับการรักษาที่คลินิกกัญชาทางการแพทย์
สถิติ ส่วนอาการไม่พึงประสงค์ที่พบได้บ่อยในทั้งสอง โรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสม
การศึกษา คือ อาการระคายเคืองทางเดินอาหาร อาการ ผสาน โดยคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างที่มารับการรักษา
วิงเวียนศีรษะ และอาการปากแห้งคอแห้ง เนื่องจาก ตั้งแต่เดือนตุลาคม พ.ศ. 2562 ถึงเดือนธันวาคม พ.ศ.
ต�ารับยาศุขไสยาสน์มีรสร้อน เพราะมีดีปลี ขิง และ 2563 ตามเกณฑ์คัดเข้า คือ 1) มีอายุตั้งแต่ 20 ปีขึ้นไป
พริกไทยในปริมาณสูง อย่างไรก็ตาม การศึกษาวิจัย 2) ได้รับต�ารับยาศุขไสยาศน์รูปแบบผงของโรงพยาบาล
ที่ผ่านมาท�าเฉพาะในกลุ่มผู้ป่วยที่มีอาการนอนไม่หลับ พระอาจารย์ฝั้น อาจาโร จังหวัดสกลนคร อย่างน้อย 1
เท่านั้น ท�าให้ยังไม่มีข้อมูลเกี่ยวกับการใช้ยาในกลุ่มผู้ ครั้ง และ 3) มารับบริการที่คลินิกกัญชาทางการแพทย์
ป่วยและข้อบ่งใช้อื่น ๆ อีกทั้งขนาดยาที่ผู้ป่วยได้รับ อย่างน้อย 2 ครั้ง การศึกษานี้ได้รับการอนุมัติจากคณะ
เป็นขนาดยาคงที่ที่แต่ละการศึกษาได้ก�าหนดไว้และ กรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์มหาวิทยาลัย
ทั้งสองการศึกษาท�าการเก็บข้อมูลในระยะสั้น ท�าให้ นเรศวร เลขที่รับรอง P10092/63
ยังไม่มีข้อมูลเกี่ยวกับผลการรักษาและอาการไม่พึง การศึกษานี้เก็บข้อมูลจากแฟ้มประวัติผู้ป่วย
ประสงค์ในระยะเวลาที่ยาวนานกว่า 1 เดือน และเวชระเบียนอิเล็กทรอนิกส์ของโรงพยาบาล ซึ่งมี
การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบ การบันทึกข้อมูลทั่วไป ข้อมูลการสั่งใช้ยา ข้อมูลเกี่ยว
การสั่งใช้ยา ความปลอดภัย และผลต่อคุณภาพชีวิต กับการเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์จากแบบฟอร์ม
ของต�ารับยาศุขไสยาศน์ในผู้ป่วยที่มารับการรักษาที่ รายงานเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์จากการใช้ผลิตภัณฑ์
คลินิกกัญชาทางการแพทย์ โรงพยาบาลการแพทย์ สุขภาพและแบบประเมินความสัมพันธ์ระหว่างอาการ
แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน โดยเก็บข้อมูล ไม่พึงประสงค์กับยาที่สงสัย Naranjo algorithm และ
การใช้ยาย้อนหลังเกี่ยวกับรูปแบบการสั่งใช้ยาของ ข้อมูลด้านคุณภาพชีวิตจากประเมินคุณภาพชีวิตด้าน
[14]
แต่ละข้อบ่งใช้ เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา สุขภาพ EQ-5D-5L ฉบับภาษาไทย โดยใช้แบบเก็บ
และคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยที่ใช้ต�ารับยาศุขไสยาศน์ ข้อมูลซึ่งตรวจสอบความถูกต้องเชิงเนื้อหา ก�าหนดค่า
เป็นเวลา 3 เดือน เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ในการใช้ต�า ดัชนีความสอดคล้องมากกว่าหรือเท่ากับ 0.5 ผู้ป่วย
รับยาศุขไสยาศน์ โดยข้อมูลที่ได้จะเป็นประโยชน์ จะถูกนัดเพื่อติดตามการรักษาอย่างน้อยเดือนละ 1
ส�าหรับบุคลากรการแพทย์ในการติดตามประสิทธิศักย์ ครั้งและมีการบันทึกข้อมูลดังกล่าวทุกครั้งที่มารับการ
และความปลอดภัยของต�ารับยาศุขไสยาศน์ และ รักษา แบบเก็บข้อมูลแบ่งเป็น 4 ส่วน ดังนี้
สามารถน�าข้อมูลไปใช้เป็นแนวทางในการวิจัยต่อไป ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วย ประกอบด้วย
ในอนาคต เพศ อายุ น�้าหนัก โรคประจ�าตัว ยาอื่นที่ได้รับร่วมกัน
และประวัติการใช้กัญชา
ระเบียบวิธีศึกษำ ส่วนที่ 2 รูปแบบการสั่งใช้ยา ประกอบด้วย ข้อ
การศึกษานี้เป็นการศึกษาแบบเก็บข้อมูลย้อน บ่งใช้ รูปแบบการสั่งใช้ยา ประกอบด้วย ขนาดยาและ
หลังจากเวชระเบียนแบบ cohort study (retrospec- จ�านวนครั้งที่ใช้ยาต่อวัน โดยแบ่งเป็นรูปแบบการสั่ง
tive cohort study using a patient record review) ใช้ยาที่ขนาดเริ่มต้น (ขนาดยาที่ผู้ป่วยได้รับครั้งแรก)