Page 101 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
P. 101
J Thai Trad Alt Med Vol. 20 No. 2 May-Aug 2022 299
และขนาดพยุง (ขนาดยาที่ผู้ป่วยได้รับอย่างต่อเนื่อง เดือนที่ 3 และใช้ logistic regression ในการความ
ไม่น้อยกว่า 4 สัปดาห์ติดต่อกัน โดยมีการสั่งใช้ยาใน สัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลและการยุติการรักษา
ขนาดดังกล่าวอย่างน้อย 2 ครั้งของการรักษา) การยุติ โดยก�าหนดค่านัยส�าคัญทางสถิติ (significance
การรักษา และสาเหตุของการยุติการรักษา level) ที่ระดับ 0.05
ส่วนที่ 3 เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์จากการใช้
ยา ประกอบด้วย วันที่เกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ ผลกำรศึกษำ
ลักษณะการเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ ประเภทและ
ความรุนแรงของเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ ขนาดยาที่ ข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วย
ได้รับระหว่างเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ การจัดการ มีผู้ป่วยที่เข้าเกณฑ์การศึกษาทั้งหมด 138 คน
เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ และข้อมูลการประเมินความ ในจ�านวนนี้ 85 คน (ร้อยละ 61.59) เป็นเพศชาย มีอายุ
สัมพันธ์ระหว่างเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์และยาที่ เฉลี่ย 56.81 ± 15.51 ปี มีจ�านวน 78 คนที่มีประวัติเคย
สงสัย ใช้ยาหรือผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมของกัญชามาก่อน
ส่วนที่ 4 คุณภาพชีวิต ประกอบด้วย ข้อมูล โดยเป็นกลุ่มที่หยุดใช้แล้ว 68 คน (ร้อยละ 49.28)
จากแบบประเมินคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพ EQ-5D- และยังคงใช้อยู่จ�านวน 10 คน (ร้อยละ7.24) ข้อบ่งใช้
5L ฉบับภาษาไทย ประเมินคุณภาพชีวิตทั้ง 5 ด้าน หลักของการใช้ยาได้แก่ อาการนอนไม่หลับ (ร้อยละ
ได้แก่ การเคลื่อนไหว การดูแลตนเอง กิจกรรมที่ท�า 87.86) ส่วนข้อมูลทั่วไปอื่น ๆ ของผู้ป่วย (ตารางที่ 1)
เป็นประจ�า อาการเจ็บปวดหรืออาการไม่สบายตัว และ
ความวิตกกังวลหรือความซึมเศร้า โดยแต่ละด้านแบ่ง รูปแบบกำรสั่งใช้ยำ
เป็น 5 ระดับ เรียงตามความรุนแรงจากไม่มีปัญหา รูปแบบการสั่งใช้ยาขนาดเริ่มต้นแสดงในตาราง
จนถึงมีปัญหามากที่สุด โดยเก็บข้อมูลการประเมิน ที่ 2 พบว่าขนาดยาเริ่มต้นที่มีการสั่งใช้อยู่ในช่วง 0.5-2
ก่อนเริ่มการรักษาและหลังการรักษาในเดือนที่ 1 และ กรัมต่อวัน ผู้ป่วยส่วนใหญ่ได้รับต�ารับยาศุขไสยาศน์ที่
3 และน�ามาค�านวณค่าอรรถประโยชน์ (utility) โดย ขนาดยาเริ่มต้น 1 กรัมต่อวัน (ร้อยละ 54.35) และได้
ค�านวณค่าอรรถประโยชน์ด้วยสมการของคุณจันทนา รับยาวันละ 1 ครั้ง (ร้อยละ 86.95) ส่วนรูปแบบการสั่ง
พัฒนเภสัช [14] ใช้ยาในขนาดเริ่มต้นที่ผู้ป่วยส่วนใหญ่ได้รับคือ 1 กรัม
วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ การ วันละ 1 ครั้ง
แจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบน มีผู้ป่วยที่ได้รับยาต่อเนื่องจนถึงขนาดพยุง
มาตรฐาน ในการรายงานข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วยและ (maintenance dose) จ�านวนทั้งหมด 86 คน โดยผู้
เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ และอรรถประโยชน์ และ ป่วยส่วนใหญ่ได้รับ ยาในขนาด 2 กรัมต่อวัน จ�านวน
ใช้สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ Skilling–Mack test และ 39 คน (ร้อยละ 45.35) รองลงมาคือ 1 กรัมต่อวัน
Wilcoxon matched-pairs signed-rank test ใน จ�านวน 35 คน (ร้อยละ 40.70) ขนาดพยุงต�่าสุดที่ใช้
การเปรียบเทียบค่าอรรถประโยชน์ของผู้ป่วยก่อนรับ ในการรักษาคือ 0.5 กรัมต่อวันและขนาดพยุงสูงสุด
การรักษาและหลังได้รับการรักษาในเดือนที่ 1 และ คือ 4 กรัมต่อวัน โดยรูปแบบการสั่งใช้ยาที่ขนาดพยุง