Page 62 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
P. 62

260 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 20  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2565




           สัมพันธ์ของสัดส่วน เช่น สัดส่วนของผู้เข้าร่วมวิจัยที่มี  ถึง พฤษภาคม 2562  ได้ผู้เข้าร่วมวิจัยหญิงหลังคลอด
           ค่าคะแนนการมาของน�้านมสูงต่อคะแนนต�่า วิเคราะห์  ที่โรงพยาบาลหนองสองห้อง จ.ขอนแก่น จ�านวน 36

           โดยใช้สถิติ Pearson Chi-Square test  โดยทุกการ  คน และ โรงพยาบาลแวงน้อย จ.ขอนแก่น จ�านวน 36
           เปรียบเทียบก�าหนดนัยส�าคัญทางสถิติที่ p-value   คน โดยข้อมูลประชากรของกลุ่มตัวอย่างทั้ง 2 กลุ่ม
           น้อยกว่า 0.05                               ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ ในประเด็น

                                                       เรื่องอายุ น�้าหนัก ส่วนสูง ระดับการศึกษา และ
                         ผลกำรศึกษำ                    รายได้ต่อเดือน (ตารางที่ 1)

                จากการเก็บข้อมูลระหว่างเดือน สิงหาคม 2561




           ตารางที่ 1  ข้อมูลประชากร (demographic data)
            ด้าน                                    กลุ่มทดลอง       กลุ่มควบคุม      p-value

           จ�านวนผู้เข้าร่วมวิจัย (n)               36               36
           อายุ (ปี) (Mean ± S.D.)                  20.00 ± 3.52     20.08 ± 4.93     0.724*
           น�้าหนัก (กิโลกรัม) (Mean ± S.D.)        63.00 ± 11.36    62.07 ± 14.23    0.597*

           ส่วนสูง (เซนติเมตร) (Mean ± S.D.)        158.43 ± 5.76    158.56 ± 5.46    0.982*
           ระดับการศึกษา (n)                                                          0.514**
             ตั้งแต่ปริญญาตรีขึ้นไป                 2                3
             ต�่ากว่าปริญญาตรี                      33               33

           รายได้ต่อเดือน  (บาท) (n)                                                  0.908**
                     †
             < 5000                                 10               9
             5000-10000                             14               16
             > 10000                                9                11

           ระดับนัยส�าคัญทางสถิติ p < 0.05
           *  ทดสอบความแตกต่างค่าเฉลี่ยของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมโดยใช้สถิติ Independent t-test
           ** ทดสอบความแตกต่างของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมโดยใช้สถิติ Pearson Chi-Square
           † ผู้เข้าร่วมวิจัยกลุ่มทดลองไม่ให้ข้อมูลด้านระดับการศึกษา 1 คน และรายได้ต่อเดือน 3 คน




                ผลการประเมินด้านค่าคะแนนการมาของน�้านม   กลุ่มควบคุม และเมื่อทดสอบทางสถิติด้วย Pearson

           พบว่า ตั้งแต่ชั่วโมงที่ 3 – ชั่วโมงที่ 36 กลุ่มทดลอง   มี  Chi-Square พบว่าแตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญ (p <
           จ�านวนผู้เข้าร่วมวิจัยที่มีค่าคะแนนการมาของน�้านม  0.05) ตั้งแต่ชั่วโมงที่ 3 จนถึงชั่วโมงที่ 36

           เข้าถึงระดับคะแนน 4 สะสมในทุก ๆ 3 ชั่วโมง มากกว่า
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67