Page 58 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
P. 58
256 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
หญิงหลังคลอดที่มีปัญหาหลังคลอดดังกล่าวทราบว่า และเป็นการอนุรักษ์มรดกทางภูมิปัญญาทางการใช้
ไปรับยากับหมอพื้นบ้านคือพ่อขาว เฉียบแหลม ต่อมา ยาสมุนไพรของอีสานไว้ โดยการศึกษานี้ ได้ติดตาม
งานแพทย์แผนไทยจึงได้เชิญคุณพ่อขาว เฉียบแหลม อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาตลอดระยะเวลา
หมอพื้นบ้าน และเป็นรากเหง้าจิตอาสาในท้องถิ่น เข้า ที่ท�าการวิจัยด้วย
มาร่วมให้บริการและเริ่มมีการน�ายาประสะน�้านมต�ารับ
พ่อขาวมาให้บริการในโรงพยาบาลฯ จากการสัมภาษณ์ ระเบียบวิธีศึกษำ
มารดาหลังคลอดที่มีปัญหาและใช้ยาประสะน�้านม
สูตรของพ่อขาว เฉียบแหลม พบว่าสามารถลดปัญหา 1. จริยธรรมกำรวิจัยในมนุษย์
การมาของน�้านมได้มาก ท�าให้การใช้ยาประสะน�้านม งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยทางคลินิกที่มีกลุ่ม
ในมารดาหลังคลอดเป็นที่แพร่หลายมากขึ้น นอกจาก ควบคุมแบบไม่ปกปิด (open-label, placebo-con-
นี้ยังใช้ในมารดาที่อยู่ไฟไม่ได้ ซึ่งจะช่วยขับน�้าคาวปลา trolled trial) ซึ่งได้รับการรับรองจากคณะกรรมการ
และท�าให้มดลูกเข้าอู่ได้เร็วขึ้นทดแทนการอยู่ไฟด้วย จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
[6,8]
ความร้อน จากการเก็บข้อมูลในปี 2556–2559 เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2561 เลขที่ HE612205
พบว่าอัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน
มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 21.2 ในปี 2556 2. ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง
เป็นร้อยละ 23.2, 27.3 และ 35 ในปี 2557–2559 ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ มารดาหลังคลอด
ตามล�าดับ ที่เป็นการคลอดปกติและเป็นคลอดแรก (Parity 1:
ปัจจุบันโรงพยาบาลหนองสองห้องได้บรรจุ P1) ที่มารับบริการระหว่างเดือน สิงหาคม 2561 ถึง
ยาประสะน�้านมต�ารับพ่อขาว เฉียบแหลม อยู่ใน พฤษภาคม 2562 ที่โรงพยาบาลหนองสองห้อง และ
บัญชียาของโรงพยาบาล และใช้ยาประสะน�้านม โรงพยาบาลแวงน้อย จังหวัดขอนแก่น
ต�ารับนี้ในมารดาที่มารับบริการคลอดที่โรงพยาบาล การศึกษานี้ใช้วิธีค�านวณหาขนาดของกลุ่ม
หนองสองห้องทุกรายตั้งแต่ปี พ.ศ. 2556 เป็นต้น ตัวอย่าง โดยหาค่าขนาดอิทธิพล (effect size) และ
มา โดยยังไม่มีการรายงานอาการไม่พึงประสงค์ใด ๆ Cohen’s Power Table ก�าหนดค่าอ�านาจการ
ที่เกิดขึ้นจากการใช้ยาประสะน�้านมนี้ทั้งในมารดา ทดสอบที่ 0.8 โดยอ้างอิงงานวิจัยของแพทย์หญิง
และทารก เพื่อให้มีหลักฐานเชิงประจักษ์และสร้าง พรรณวรา ปริตกุล และคณะ ซึ่งเป็นการศึกษาผล
[9]
ความมั่นใจในการใช้ยาจึงได้ท�าการวิจัยครั้งนี้โดย ของน�้าขิงต่อปริมาณน�้านมมารดาหลังคลอดโดย
มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงผลของยาประสะน�้านม เปรียบเทียบกลุ่มที่ได้รับน�้าขิง (30 ราย) กับกลุ่มที่ได้
ต�ารับนี้ที่มีต่อการสร้างน�้านมของมารดาหลังคลอด รับยาหลอก (33 ราย) ค่าที่น�ามาใช้ในการค�านวณขนาด
โดยประเมินการไหลของน�้านม ปริมาณน�้านมที่สร้าง กลุ่มตัวอย่างคือค่าเฉลี่ยปริมาณน�้านม ซึ่งกลุ่มที่ได้รับ
ได้ภายใน 1 ชั่วโมง ระดับยอดมดลูก ลักษณะและ น�้าขิงมีค่าเฉลี่ยปริมาณน�้านมที่ 191 ± 71.2 มิลลิลิตร/
ปริมาณน�้าคาวปลาเพื่อจะได้ใช้เป็นข้อมูลในการ วัน และกลุ่มยาหลอกมีค่าเฉลี่ยปริมาณน�้านมที่ 135
พัฒนาการใช้ต�ารับยาพื้นบ้านให้กว้างขวางต่อไป ± 61.5 มิลลิลิตร/วัน เมื่อค�านวณตามสมการของ