Page 65 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
P. 65
J Thai Trad Alt Med Vol. 20 No. 2 May-Aug 2022 263
อภิปรำยผล Annonaceae), รากตับเต่าน้อย (Polyalthia debilis
จากผลการศึกษาเห็นได้ว่ายาประสะน�้านม (Pierre) Finet & Gagnep วงศ์ Annonaceae), ราก
“ต�ารับพ่อขาว เฉียบแหลม’’ สามารถกระตุ้นการมา ฮุ่นไฮ่ (Erythroxylum cuneatum (Miq.) Kurz วงศ์
ของน�้านมให้เร็วขึ้นได้ โดยจะเห็นได้จากผลค่าคะแนน Erythroxylaceae) ในทางการแพทย์พื้นบ้าน ใช้เนื้อ
การมาของน�้านมที่ชั่วโมงที่ 3 ถึงชั่วโมงที่ 36 ของกลุ่มผู้ ไม้และรากนมวัว (Uvaria rufa Blume วงศ์ Annona-
เข้าร่วมวิจัยที่ได้รับยาประสะน�้านม ที่มีค่าคะแนนการ ceae) ต้มกินเป็นยาแก้ไข้กลับ ไข้ซ�้า แก้การกินของ
มาของน�้านมเข้าถึงระดับคะแนน 4 มากกว่ากลุ่มผู้เข้า แสลงเป็นพิษ แพทย์พื้นบ้านในภาคตะวันออกเฉียง
ร่วมวิจัยกลุ่มควบคุมที่ไม่ได้รับยาอย่างมีนัยส�าคัญ เหนือใช้รากและเนื้อไม้ต้มกินแก้โรคผอมแห้งในสตรี
[12]
ทางสถิติ p < 0.05 ยาประสะน�้านมช่วยให้มารดา ที่คลอดบุตร และบ�ารุงน�้านมให้มีน�้านมมาก ส่วน
หลังคลอดเริ่มผลิตน�้านมได้เร็วกว่ากลุ่มควบคุมใน รากตับเต่าน้อย (Polyalthia debilis (Pierre) Finet
36 ชั่วโมงแรก ประสิทธิผลของยาต�ารับนี้สอดคล้อง & Gagnep) นั้น แพทย์พื้นบ้านใช้ฝนหรือต้มกินเป็น
กับแนวทางขององค์การอนามัยโลกที่เน้นถึงความ ยาดับพิษทั้งปวง แก้ตัวร้อน ว่าดับพิษตานทรางในเด็ก
[12]
ส�าคัญของการให้ทารกได้รับนมแม่เร็วที่สุด เนื่องจาก ได้ดีนัก ในยาอีสานใช้พืชที่อยู่สกุลเดียวกับตับเต่า
มีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ว่าปริมาณโปรตีนและ น้อยเป็นยาเรียกน�้านม มีบันทึกในต�าร ายาอีสานว่าใช้
ภูมิต้านทานในน�้านมแม่จะลดลงอย่างรวดเร็วหลัง รากน�้าเต้าแล้ง (Polyalthia evecta (Pierre) Finet &
คลอด กล่าวคือ ความเข้มข้นสูงสุดในวันแรก ลดลง Gagnep) และรากฮุ่นไฮ่ (Erythroxylum cuneatum
ครึ่งหนึ่งในวันที่สอง และค่อย ๆ ลดลงเรื่อย ๆ ใน (Miq.) Kurz) อย่างละเท่ากันต้มกินให้มีน�้านม [8]
แต่ละวัน [10-11] นอกจากนี้กลุ่มผู้เข้าร่วมวิจัยที่ได้รับ แม้ว่าเครื่องยาทั้ง 3 ชนิดนี้ยังไม่มีการศึกษาฤทธิ์
ยาประสะน�้านมฯ ยังมีปริมาณน�้านมที่ผลิตได้ภายใน ทางเภสัชวิทยาต่อการกระตุ้นการสร้างน�้านมโดยตรง
1 ชั่วโมงสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ แต่มีการศึกษาฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาที่มีความสัมพันธ์
p < 0.05 ในชั่วโมงที่ 48 หลังคลอด การกระตุ้น ต่อการหลังน�้านมในเชิงทฤษฎีอยู่บ้าง ได้มีการศึกษา
การมาของน�้านมและการเพิ่มการสร้างน�้านมในผู้เข้า ฤทธิ์ต้านเอนไซม์ 5 แอลฟา-รีดักเทส (5a-reductase)
ร่วมวิจัยกลุ่มทดลองได้ภายใน 48 ชั่วโมงนี้ จะช่วยลด ของสารสกัดจากเถานมวัว (Uvaria rufa Blume)
ปัญหาปริมาณน�้านมมาไม่เพียงพอต่อความต้องการ ในหลอดทดลอง พบว่าสารสกัดด้วยน�้านั้นมีการ
ของทารกลง แสดงฤทธิ์ได้ค่อนข้างดี โดยมีค่าการยับยั้งเอนไซม์
การกระตุ้นการมาของน�้านมและการเพิ่ม 5แอลฟา-รีดักเทสที่ IC 50 45.27 ± 1.66 mg/ml
ปริมาณการสร้างน�้านมในกลุ่มผู้เข้าร่วมวิจัยที่ได้รับ และสารสกัดที่แสดงฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ที่ดีที่สุดคือ
ยาประสะน�้านม “ต�ารับพ่อขาว เฉียบแหลม’’ นี้ อาจ สารสกัดด้วยเอทิลแอซิเตท ซึ่งมีค่า IC 50 33.81 ± 1.36
[13]
สัมพันธ์กับองค์ประกอบในต�ารับยา ซึ่งในต�ารับยานี้มี mg/ml และยังแสดงผลในการลดขนาดต่อมลูก
เครื่องยา 9 ชนิดเป็นองค์ประกอบ โดยมีเครื่องยาซึ่ง หมากและระดับฮอร์โมนเพศผู้ในหนูทดลองได้ดี [13]
หมอยาอีสานใช้เป็นยากระตุ้นน�้านมมาแต่โบราณ ถึง การที่สารสกัดของเถานมวัว แสดงฤทธิ์ในการต้าน
3 ชนิด ได้แก่ เถานมวัว (Uvaria rufa Blume วงศ์ เอนไซม์ 5 แอลฟา-รีดักเทสในการศึกษาดังกล่าว แม้