Page 64 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
P. 64
262 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
ผลการประเมินด้านระดับยอดมดลูก ระดับยอด สถิติ (p < 0.05) ทั้งนี้มีผู้เข้าร่วมวิจัยในกลุ่มทดลอง
มดลูกในชั่วโมงที่ 2, 24, 48, วันที่ 5 และ วันที่ 7 ของ 8 ราย และผู้เข้าร่วมวิจัยในกลุ่มควบคุม 1 ราย ไม่มา
ทั้งสองกลุ่ม ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ รับการประเมินในวันดังกล่าว ค่าระดับยอดมดลูกของ
แต่พบว่าในวันที่ 14 หลังคลอดกลุ่มทดลองระดับยอด กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม (ตารางที่ 4)
มดลูกลดลงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยส�าคัญทาง
ตารางที่ 4 ระดับยอดมดลูก (เซนติเมตร) ของผู้เข้าร่วมวิจัยกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมในเวลาต่าง ๆ
หลังคลอด กลุ่มทดลอง กลุ่มควบคุม Mean diff. ± S.D. 95% CI p-value*
(n = 36) (n = 36)
2 ชั่วโมง 15.85 ± 2.08 15.89 ± 2.07 -0.04 ± 0.49 -1.017 to 0.934 0.932
24 ชั่วโมง 14.04 ± 2.44 14.00 ± 1.96 0.04 ± 0.52 -1.003 to 1.089 0.935
48 ชั่วโมง 12.55 ± 2.25 12.34 ± 2.51 0.21 ± 0.56 -0.909 to 1.331 0.708
วันที่ 5 9.99 ± 3.64 9.58 ± 3.12 0.41 ± 0.80 -1.197 to 2.008 0.616
วันที่ 7 6.86 ± 4.34 7.57 ± 3.41 -0.71 ± 0.93 -2.569 to 1.152 0.450
†
วันที่ 14 1.50 ± 2.52 3.97 ± 3.88 -2.47 ± 0.81 -4.092 to -0.851 0.003
ระดับนัยส�าคัญทางสถิติ p < 0.05
* ทดสอบความแตกต่างค่าเฉลี่ยของกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุมโดยใช้สถิติ Independent t-test
† มีผู้เข้าร่วมวิจัยในกลุ่มทดลอง 8 ราย และผู้เข้าร่วมวิจัยในกลุ่มควบคุม 1 ราย ไม่มารับการประเมิน
ผลการประเมินปริมาณและลักษณะน�้าคาวปลา
พบว่าใน 14 วันแรกหลังคลอดทั้งสองกลุ่มมีปริมาณ
น�้าคาวปลาลดลงอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ (Wilks’
lamda = 0.131, F (13, 55) = 28.088, p < 0.05) แต่
เมื่อเปรียบเทียบระหว่างสองกลุ่มแล้วพบว่าคะแนน
ปริมาณน�้าคาวปลาเฉลี่ยไม่แตกต่างกันอย่างมีนัย
ส�าคัญทางสถิติ (p > 0.05) ดังแสดงในภาพที่ 1
ส�าหรับลักษณะของน�้าคาวปลา พบว่าค่าเฉลี่ย ภาพที่ 1 ค่าเฉลี่ยคะแนนปริมาณน�้าคาวปลาของผู้เข้า
ร่วมวิจัยกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมในช่วง
จ�านวนวันที่น�้าคาวปลาเปลี่ยนสีจากสีแดงสดเป็นสี
14 วันแรกหลังคลอด
เหลืองในกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมเป็น 10.82 ±
3.35 และ 11.46 ± 3.29 วันตามล�าดับ ซึ่งไม่แตกต่าง ผลการประเมินอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้
กันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ (p > 0.05) ทั้งนี้ในวันที่ ยา ไม่พบอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาในกลุ่ม
14 มีผู้เข้าร่วมวิจัยในกลุ่มทดลอง 8 ราย และผู้เข้าร่วม ทดลองและกลุ่มควบคุม ตลอดระยะเวลาที่ท�าการ
วิจัยในกลุ่มควบคุม 1 ราย ไม่มารับการประเมิน ศึกษาวิจัย