Page 61 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
P. 61
J Thai Trad Alt Med Vol. 20 No. 2 May-Aug 2022 259
4.2 ประเมินปริมาณน�้านม อนามัย มีระดับคะแนนเป็น 3 น�้าคาวปลาน้อยลงเหลือ
หลังคลอดในชั่วโมงที่ 12 ชั่วโมงที่ 24 ชั่วโมง เป็นดวงตรงกลางแผ่นผ้าอนามัย มีระดับคะแนนเป็น
ที่ 36 และชั่วโมงที่ 48 ผู้เข้าร่วมวิจัยจะได้รับการวัด 2 และ ถ้าน�้าคาวปลาน้อยลงมากเห็นรอยบนผ้าอนามัย
ปริมาตรน�้านมโดยตรงจากการปั๊มน�้านมโดยดูปริมาณ เล็กน้อย มีระดับคะแนนเป็น 1 น�าระดับคะแนนดัง
น�้านมที่ผลิตได้ใน 1 ชั่วโมง ใช้เครื่องปั๊มนมยี่ห้อ กล่าวมานี้คูณด้วยจ�านวนแผ่นผ้าอนามัยที่มีลักษณะ
สเปคทรา รุ่นเอส 2 (Spectra S2) ที่แรงดันในการปั๊ม ดังกล่าวในแต่ละวันแล้วน�ามารวมกันเป็นค่าคะแนน
170 มิลลิเมตรปรอท เริ่มจากการปั๊มน�้านมออกจาก น�้าคาวปลาในแต่ละวัน
เต้านมมารดาจนหมดทั้ง 2 เต้า แล้วทิ้งเวลาไว้ 1 ชั่วโมง ด้านการประเมินสีของน�้าคาวปลา ผู้เข้าร่วมวิจัย
หลังจากนั้นจึงปั๊มน�้านมจากทั้ง 2 เต้า เต้าละ 15 นาที จะบันทึกสีของน�้าคาวปลาโดยเทียบกับแถบสีตัวอย่าง
บันทึกปริมาตรรวมของน�้านมที่ปั๊มได้ ประเมินทุก ๆ ในแบบบันทึก โดยท�าการประเมินทุกครั้งที่ท�าการ
12 ชั่วโมง จนครบ 48 ชั่วโมง เปลี่ยนผ้าอนามัยเป็นรายวัน
4.3 การวัดระดับยอดมดลูก 4.5 การประเมินอาการไม่พึงประสงค์จากการ
คล�าและวัดระดับยอดมดลูกบันทึกเป็น ใช้ยา
เซนติเมตร วัดจากยอดมดลูกถึงรอยต่อกระดูกหัว ผู้เข้าร่วมวิจัยและทารกจะได้รับการติดตาม
หน่าวด้วยสายวัด ในชั่วโมงที่ 2 ชั่วโมงที่ 24 หลังคลอด อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาในวันที่ 1, 2, 5, 7
ชั่วโมงที่ 48 วันที่ 5 วันที่ 7 และ วันที่ 14 หลังคลอด และ วันที่ 14 โดยวิธีการสอบถามอาการจากผู้เข้าร่วม
โดยพยาบาลวิชาชีพที่มีการปฏิบัติงานเป็นมาตรฐาน วิจัย อาทิ ท้องผูก ท้องเสีย ปวดหัว ผื่นแดง และอาการ
เดียวกัน อื่น ๆ ที่ผิดปกติ
4.4 การประเมินน�้าคาวปลา
ผู้เข้าร่วมวิจัยจะได้รับการฝึกวิธีการประเมินใน 5. กำรวิเครำะห์ข้อมูล
แบบบันทึกที่สร้างขึ้นให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน โดย 5.1 ข้อมูลทั่วไป ใช้สถิติเชิงพรรณนา (de-
การสังเกตลักษณะน�้าคาวปลาด้วยตนเอง พิจารณา scriptive statistics) โดยใช้สถิติร้อยละ (percent-
จากสี ปริมาณ ที่ปรากฏให้เห็นบนผ้าอนามัย ให้ age) ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)
ประเมินทุกครั้งที่เปลี่ยนผ้าอนามัย และประเมินทุก จ�าแนกตาม อายุ น�้าหนัก ส่วนสูง และจ�านวนของผู้
วันเป็นเวลา 14 วัน ตามแบบประเมินมาตรฐานและ เข้าร่วมวิจัยที่ระดับการศึกษาและช่วงรายได้ต่อเดือน
ค�าชี้แจงวิธีการประเมิน และน�าแบบประเมินคืนนัก 5.2 ข้อมูลที่เปรียบเทียบระหว่างกลุ่ม การ
วิจัยในวันนัดตรวจหลังคลอดวันที่ 15 วิเคราะห์ข้อมูลเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มที่ไม่มีความ
ค่าคะแนนปริมาณน�้าคาวปลาแต่ละวัน คือผล สัมพันธ์กัน เช่น ปริมาณน�้านมของกลุ่มทดลองและ
รวมของคะแนนปริมาณน�้าคาวปลาบนผ้าอนามัย กลุ่มควบคุม ใช้สถิติ Independent t-test ส่วน
แต่ละแผ่นใน 1 วันของผู้เข้าร่วมวิจัยแต่ละราย โดย การวิเคราะห์ข้อมูลในกลุ่มเดียวกันแต่ต่างเวลา เช่น
มีเกณฑ์ระดับคะแนนดังนี้ ถ้าน�้าคาวปลาเต็มแผ่นผ้า ปริมาณของน�้านมในหญิงหลังคลอดคนเดียวกันที่
อนามัย มีระดับคะแนนเป็น 4 น�้าคาวปลาค่อนแผ่นผ้า เวลาต่าง ๆ ใช้สถิติ Paired t-test ส�าหรับการหาความ