Page 66 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
P. 66
264 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
จะท�าการศึกษาในหนูเพศผู้และมีวัตถุประสงค์ในการ ก็ตามยังคงต้องมีปริมาณของเอสโตรเจนในกระแส
[17]
ดูขนาดต่อมลูกหมากและระดับฮอร์โมนเพศผู้ แต่ผล เลือดที่เพียงพอเพื่อให้มีการหลั่งน�้านมได้เป็นปกติ
ของการแสดงฤทธิ์ดังกล่าวอาจส่งผลในเพศเมียได้ ได้มีการศึกษาผลของเอสโตรเจนต่อปริมาณ
เช่นกัน เนื่องจาก 5แอลฟา-รีดักเทส นั้นมีผลต่อการ โปรแลคตินที่น่าสนใจในหนูทดลองที่ถูกตัดรังไข่ พบ
เมแทโบไลต์ฮอร์โมนเทสโทสเตอโรน (testosterone) ว่าเมื่อฉีดเอสโตรเจนในรูปแบบของเอสตราไดออล
ให้กลายเป็นไดไฮโดรเทสโทสเตอโรน [dihydrotes- เบนโซเอต (estradiol benzoate) ขนาดต่าง ๆ วันละ
tosterone (DHT)] ในทางทฤษฎีเมื่อ 5แอลฟา-รีดักเทส 1 ครั้ง เป็นเวลานาน 6 วัน หนูทดลองที่ถูกตัดรังไข่ที่
ถูกยับยั้งจะท�าให้ปริมาณของเทสโทสเตอโรนสูง ได้รับเอสโตรเจนในขนาด 0.1, 1.0, 5.0 ไมโครกรัม
ขึ้นเป็นสารตั้งต้นท�าให้เกิดการสร้างเอสตราไดออล ซึ่งเป็นเอสโตรเจนในระดับต�่า จะมีระดับโปรแลคติน
(estradiol) สูงขึ้นตามไปด้วย ในประเด็นนี้ได้มีการ ในเลือดเพิ่มสูงขึ้นอย่างมีนัยส�าคัญถึง 2, 3 และ 10
ศึกษาผลของการใช้ยาฟิแนสเตอไรด์ (finasteride) เท่าตามล�าดับ ในขณะที่หนูทดลองที่ได้รับเอสโตร
ซึ่งเป็นยาต้านเอนไซม์ 5แอลฟา-รีดักเทส พบว่าสตรี เจนขนาดสูงที่ 10-500 ไมโครกรัมกลับมีการเพิ่มขึ้น
[18]
ที่ได้รับยาฟิแนสเตอไรด์ขนาด 5 มิลลิกรัม/วัน เป็น ของโปรแลคตินเพียงเล็กน้อยเท่านั้น ส�าหรับการ
เวลา 6 เดือนและ 12 เดือน มีระดับเอสตราไดออล ทดลองในมนุษย์นั้นมีการศึกษาในกลุ่มชายที่แปลง
ในเลือดสูงขึ้นอย่างมีนัยส�าคัญ ยังมีการศึกษา เพศเป็นหญิง พบว่ากลุ่มตัวอย่างที่ได้รับเอสโตรเจน
[14]
ผลของการใช้ฮอร์โมนเอสโตรเจนทดแทนในสตรี เสริมจนมีระดับเอสโตรเจนในเลือดสูงถึง 10,000
วัยหมดประจ�าเดือนและตรวจวัดระดับฮอร์โมน พิโคกรัม/มิลลิลิตร มีระดับโปรแลคตินเพิ่มขึ้นได้ถึง
[19]
โปรแลคติน (prolactin) พบว่าการใช้ฮอร์โมน 3-4 เท่า อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ การกระตุ้นการ
เอสโตรเจนทดแทนในขนาด 0.320, 0.624 และ 1.25 หลั่งน�้านมด้วยเอสโตเจนในปริมาณที่เหมาะสมนี้ถูก
มิลลิกรัมต่อวันเป็นเวลา 21 วัน จะส่งผลให้ระดับ น�ามาใช้ในการกระตุ้นการหลั่งน�้านมในวัวนมด้วย [20]
โปรแลคตินสูงขึ้นอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติจาก กลไกการท�างานของฮอร์โมนต่าง ๆ ในร่างกายนั้น
5.3 ± 1.4 นาโนกรัม/มิลลิลิตร เป็น 12.6 ± 7.1 นาโน มีความซับซ้อนค่อนข้างมาก แต่จากหลักฐานการ
[15]
กรัม/มิลลิลิตร ซึ่งในระหว่างการตั้งครรภ์นั้นระดับ ศึกษาต่าง ๆ ที่กล่าวมาอาจเกี่ยวข้องกับการแสดงฤทธิ์
เอสโตรเจนและโปรเจสเตอโรนในเลือดของหญิงตั้ง กระตุ้นน�้านมของเถานมวัวที่แพทย์พื้นบ้านอีสานได้
ครรภ์จะอยู่ในระดับสูง โดยเอสโตรเจนท�าให้เกิดการ น�ามาใช้ในต�ารับยาบ�ารุงน�้านมต่าง ๆ
พัฒนาของเนื้อเยื่อเต้านมเตรียมพร้อมส�าหรับการ ส�าหรับผลของยาประสะน�้านม “ต�ารับพ่อขาว
ให้นมหลังคลอดในระหว่างนี้ฮอร์โมนโปรแลคตินจะ เฉียบแหลม’’ ต่อระดับยอดมดลูกนั้นในช่วงแรก
ถูกยับยั้งไม่ให้มีการหลั่งออกมาโดยโปรเจสเตอโรน ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติเมื่อเทียบ
และเมื่อคลอดแล้วระดับฮอร์โมนเอสโตรเจนและ กับกลุ่มควบคุม แต่มาพบความแตกต่างกันอย่างมี
โปรเจสเตอโรนจะลดต�่าลงอย่างรวดเร็วการยับยั้งการ นัยส�าคัญทางสถิติ (p < 0.05) ในวันที่ 14 โดยกลุ่ม
หลั่งฮอร์โมนโปรแลคตินก็จะยุติลงและเมื่อถูกกระตุ้น ทดลองที่ได้รับยาจะมีระดับยอดมดลูกที่ 1.50 ± 2.52
ด้วยการดูดของทารกน�้านมก็จะหลั่ง แต่อย่างไร เซนติเมตร และกลุ่มควบคุมมีระดับยอดมดลูกที่
[16]