Page 229 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
P. 229
วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก Journal of Thai Traditional & Alternative Medicine
ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565 Vol. 20 No. 2 May-August 2022
J Thai Trad Alt Med Vol. 20 No. 2 May-Aug. 2022 427
วารสารสโมสร
วารสารสโมสร
ธงชัย สุขเศวต*
รัชนี จันทร์เกษ †
ผกากรอง ขวัญข้าว ‡
คอลัมน์วารสารสโมสรการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก มีจุดมุ่งหมายเพื่อน�าเสนอเอกสาร
สิ่งพิมพ์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อรวบรวมไปจัดพิมพ์เป็นเล่มสารสนเทศของข่ายงาน ซึ่งหวังว่าจะเป็นประโยชน์ในการ
ค้นเอกสารอ้างอิง และการวิจัยไม่ซ�้าซ้อน รวมทั้งช่วยให้ผู้เกี่ยวข้องสามารถลดภาระในการติดตามความก้าวหน้า
ทางวิชาการ หรือติดตามเรื่องที่สนใจในทางลุ่มลึกต่อไป.
ฤทธิ์ต้านออกซิเดชัน ต้านการอักเสบ และปกป้อง ไทยหลายต�ารับที่ส�าคัญ คือ ตรีผลา ใช้ในการรักษา
ตับของสารสกัดจากผลสมอพิเภก จากพิษต่อตับ ไข้หวัด ปวดศีรษะ เจ็บคอ ไอ ท้องผูก ท้องอืดท้อง
ของยาไดโคลฟิแนคในหนูแรท* เฟ้อ โรคตับ เป็นต้น จากการศึกษาพบว่า สารสกัด
Ashutosh Gupta, Ramesh Kumar, จากสมอพิเภกมีฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาหลายด้าน ได้แก่
Risha Ganguly, Amit Kumar Singh, ลดน�้าตาลในเลือด ต้านแบคทีเรีย ต้าน HIV ต้าน
Harvesh Kumar Rana, Abhay Kumar Pandey มาลาเรีย ต้านเชื้อรา โดยเฉพาะ ฤทธิ์ต้านออกซิเดชัน
Department of Biochemistry, University of (antioxidant) และ ปกป้องตับ (hepatoprotective
Allahabad, Allahabad, India activity) โดยสารส�าคัญในผลสมอพิเภกที่ส�าคัญคือ
Toxicology Reports. 2020 December 24; 8: 44-52. กรดเอลลาจิก (ellagic acid) ที่มีฤทธิ์ต้านออกซิเดชัน
doi: 10.1016/j.toxrep.2020.12.010. ปกป้องเซลล์จากการท�าลาย DNA ในเซลล์ เป็นต้น
จากผลการศึกษาของสารสกัดจากผลสมอพิเภก ที่มี
สมอพิเภก มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ ว่า Termi- ฤทธิ์ต้านออกซิเดชัน และ ปกป้องตับ ท�าให้นักวิจัย
nalia bellirica (Gaertn.) Roxb. อยู่ในวงศ์ Com- กลุ่มนี้สนใจที่จะศึกษาผลของ สารสกัดด้วยเอทิลอะ
bretaceae เป็นพืชที่พบได้ทั่วไป ทั้งในเอเชียใต้และ ซิเตท (ethyl acetate extract) และ สารสกัดด้วย
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ผลสมอพิเภก เป็นหนึ่งใน น�้า (aqueous extract) จากผลสมอพิเภก และกรด
องค์ประกอบส�าคัญของต�ารับยาอายุรเวทและยาแผน เอลลาจิก ในการต้านการอักเสบ และปกป้องตับ จาก
พิษต่อตับของยาไดโคลฟิแนค (diclofinac) ซึ่งเป็นยา
* คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตอรอยด์ ในหนูแรท เมื่อให้
† กองวิชาการและแผนงาน กรมการแพทย์แผนไทยและ ในระยะยาว เปรียบเทียบกับยาซิลีมาริน (silymarin)
การแพทย์ทางเลือก
‡ โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร ที่เป็นยาปกป้องตับมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า กรด
427