Page 103 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
P. 103

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 20  No. 2  May-Aug  2022  301




            ส่วนใหญ่ คือ 1 กรัม วันละ 1 ครั้ง จ�านวน 35 คน    กรัมต่อวัน โดยทุกข้อบ่งใช้ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะได้รับยา
            (ร้อยละ 40.70) ขนาดพยุงที่มีการสั่งใช้ส�าหรับอาการ  วันละ 1 ครั้ง (ร้อยละ 88.37) (ตารางที่ 3)

            นอนไม่หลับและอาการปวดศีรษะส่วนใหญ่ คือ 2


            ตารางที่ 3  ขนาดพยุงของยาต่อวันแบ่งตามข้อบ่งใช้ (N = 86)

                  ข้อบ่งใช้               รูปแบบการสั่งใช้ยา               จ�านวน (ร้อยละ)

             นอนไม่หลับ (N = 75)         0.5 กรัม วันละ 1 ครั้ง             10 (11.63)
                                         1 กรัม วันละ 1 ครั้ง               29 (33.72)
                                         1 กรัม วันละ 2 ครั้ง                 8 (9.30)
                                         2 กรัม วันละ 1 ครั้ง               26 (30.23)
                                         2 กรัม วันละ 2 ครั้ง                 1 (1.16)
                                         3 กรัม วันละ 1 ครั้ง                 1 (1.16)
             ปวดศีรษะ (N = 7)            1 กรัม วันละ 1 ครั้ง                 3 (3.49)
                                         1 กรัม วันละ 2 ครั้ง                 1 (1.16)
                                         2 กรัม วันละ 1 ครั้ง                 3 (3.49)
             อื่น ๆ (N = 4)              1 กรัม วันละ 1 ครั้ง                 3 (3.49)
                                         2 กรัม วันละ 1 ครั้ง                 1 (1.16)





            เหตุกำรณ์ไม่พึงประสงค์                      ของเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ทั้งหมด (ตารางที่ 4)

                 จากข้อมูลแฟ้มประวัติผู้ป่วยทั้งหมด 138 คน      เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ทั้งหมด เป็น type
            ที่มารับยาจ�านวนทั้งหมด 348 ครั้ง พบเหตุการณ์  A adverse drug reaction (อาการที่เกี่ยวข้องกับ
            ไม่พึงประสงค์ทั้งหมด 31 เหตุการณ์ (ร้อยละ 8.91   ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของยา) และเป็นเหตุการณ์ไม่พึง

            ของการสั่งจ่ายยาทั้งหมด) จากผู้ป่วยจ�านวน 23 คน   ประสงค์ที่ไม่รุนแรง โดยส่วนใหญ่ขนาดยาที่ผู้ป่วยได้
            (ร้อยละ 16.67 ของผู้ป่วยทั้งหมด) มีผู้ป่วยยุติการ  รับระหว่างเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์คือ 1 กรัมต่อ

            รักษาเนื่องจากเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์จ�านวน   วัน และพบเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์หลังได้รับยาเป็น
            16 คน เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ที่พบบ่อยที่สุด ได้แก่   เวลา 0-7 วัน การจัดการเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ส่วน
            อาการระคายเคืองทางเดินอาหาร ส่วนเหตุการณ์ไม่พึง  ใหญ่คือ การหยุดใช้ยา รองลงมาคือ ใช้ยาต่อโดยลด

            ประสงค์อื่น ๆ ได้แก่ วิงเวียนหรือปวดศีรษะ ปากแห้ง  ขนาดยา มีผู้ป่วยที่พบเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์แต่ยัง
            คอแห้ง แผลร้อนใน ผื่นแดงจุดเล็ก และอาการร้อน  คงได้รับยาต่อในขนาดเดิม 2 ครั้ง โดยเหตุการณ์ไม่

            วูบวาบ ผลการประเมินความสัมพันธ์ของเหตุการณ์  พึงประสงค์เป็นเหตุการณ์ที่ไม่รุนแรง ได้แก่ อาการ
            ไม่พึงประสงค์อยู่ในระดับน่าจะใช่ (probable/likely)   ปากแห้งคอแห้ง และอาการระคายเคืองทางเดินอาหาร
            ร้อยละ 58.06 และอาจจะใช่ (possible) ร้อยละ 41.94   แพทย์ผู้สั่งใช้จึงท�าการปรับเปลี่ยนวิธีการใช้ยาเป็น
   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108