Page 105 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
P. 105

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 20  No. 2  May-Aug  2022  303




            ตารางที่ 5  ประเภทของเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ ขนาดยา และการจัดการเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ (N = 31)

                  การเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์                        จ�านวน   ร้อยละของเหตุการ

                                                                        (ครั้ง)   ไม่พึงประสงค์ทั้งหมด
             ประเภทของเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์             type A          31          100

             ความรุนแรงของเหตุการณ์ ไม่พึงประสงค์       ไม่รุนแรง        31          100

             ขนาดยาที่ได้รับระหว่างเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์   0.5 กรัม ต่อวัน   5   16.13
                                                       1 กรัม ต่อวัน     14          45.16
                                                       2 กรัม ต่อวัน     12          38.71

             ระยะเวลาที่ได้รับยาก่อนพบเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์    0-7 วัน   12         38.71
                                                        8-14 วัน         5           16.13
                                                       15-30 วัน         7           22.58
                                                       31-90 วัน         7           22.58
             การจัดการเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์            หยุดใช้ยา        20          64.52
                                                    ใช้ยาต่อในขนาดเดิม   2           6.45
                                                   ใช้ยาต่อในขนาดเดิมและ   2         6.45
                                                ใช้ยาอื่นร่วมเพื่อจัดการเหตุการณ์
                                                       ไม่พึงประสงค์
                                                   ใช้ยาต่อโดยลดขนาดลง   7           22.58




            ต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ (p < 0.001) ในขณะ  กำรยุติกำรรักษำ
            ที่อรรถประโยชน์หลังการรักษาในเดือนที่ 1 และเดือน     จากผู้ป่วยที่เข้าเกณฑ์การศึกษาทั้งหมด 138 คน

            ที่ 3  ไม่พบความแตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ   มีผู้ป่วยที่ยุติการรักษาจ�านวน 31 คน ซึ่งการยุติการ
            (p = 0.775) (ตารางที่ 7)                    รักษานี้เป็นการตกลงร่วมกันระหว่างแพทย์แผนไทย

                 เมื่อท�าการวิเคราะห์แยกกลุ่มผู้ป่วยตาม  ผู้ท�าการตรวจรักษาและผู้ป่วย จากผู้ป่วยที่ยุติการ
            ข้อบ่งใช้โดยใช้สถิติ Skilling–Mack test พบว่า  รักษาเนื่องจากอาการไม่ดีขึ้น จ�านวน 15 คน (ร้อยละ
            อรรถประโยชน์ก่อนเริ่มการรักษาและหลังการรักษาใน  10.87) เมื่อท�าการวิเคราะห์ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์

            เดือนที่ 1 และ 3 มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญ  กับการยุติการรักษาเนื่องจากอาการไม่ดีขึ้นพบว่า
            ทางสถิติในกลุ่มผู้ป่วยที่รับการรักษาด้วยอาการนอน  ประวัติการใช้กัญชามีความสัมพันธ์กับการยุติการ
            ไม่หลับ (p < 0.001) ส่วนของกลุ่มผู้ป่วยที่รับการรักษา  รักษาเนื่องจากอาการไม่ดีขึ้นอย่างมีนัยส�าคัญทาง

            ด้วยอาการปวดศีรษะไม่พบความแตกต่างกันอย่างมี  สถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95 โดยพบว่ากลุ่มที่เคย
            นัยส�าคัญระหว่างก่อนและหลังการรักษาในเดือนที่ 1   มีประวัติการใช้กัญชามาก่อนมีโอกาสที่จะยุติการ
            และ 3 (p = 0.616) (ภาพที่ 1)                รักษาเนื่องจากอาการไม่ดีขึ้นน้อยกว่ากลุ่มที่ไม่เคย

                                                        มีประวัติการใช้กัญชามาก่อน (OR = 0.06, 95% Cl:
   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110