Page 104 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
P. 104

302 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 20  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2565




           ตารางที่ 4  การเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ (N = 31)

                                       ผลการประเมินความสัมพันธ์                ร้อยละของการเกิด
              เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์                               จ�านวนครั้ง  อาการไม่พึงประสงค์

                                       น่าจะใช่       อาจจะใช่     (ร้อยละ)   ต่อจ�านวนครั้งที่มารับ



                                       (ร้อยละ)       (ร้อยละ)                    ยาทั้งหมด


                                         8              3            11             3.16
            ระคายเคืองทางเดินอาหาร
                                       (72.72)       (27.27)      (100.00)
                                         3              5            8              2.30
            วิงเวียนหรือปวดศีรษะ
                                       (37.50)       (62.50)      (100.00)

                                         4              2            6              1.72
            ปากแห้งคอแห้ง
                                       (66.67)       (23.23)      (100.00)

                                         1              1            2              0.57
            แผลร้อนใน
                                       (50.00)       (50.00)      (100.00)

                                         1              1            2              0.57
            ผื่นแดงจุดเล็ก
                                       (50.00)       (50.00)      (100.00)

                                         1              1            2              0.57
            ร้อนวูบวาบ
                                       (50.00)       (50.00)      (100.00)

                                         18            13            31
            รวม
                                       (58.06)       (41.94)      (100.00)





           รับประทานหลังอาหารหรือเปลี่ยนน�้ากระสายยา มี  ยาศน์เป็นเวลา 1 เดือนและ 3 เดือน ค่าเฉลี่ยคะแนน
           การใช้ยาต่อในขนาดเดิมและใช้ยาอื่นร่วมเพื่อจัดการ  อรรถประโยชน์เพิ่มขึ้นเป็น 0.970 ± 0.093 และ 0.975
           เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ 2 ครั้ง โดยเหตุการณ์ไม่พึง  ± 0.053 ตามล�าดับ โดยมีรายละเอียดดังตารางที่ 6

           ประสงค์ที่พบคือ อาการร้อนวูบวาบ แพทย์แผนไทยผู้     เมื่อทดสอบความแตกต่างทางสถิติของค่าเฉลี่ย
           สั่งใช้ได้ท�าการสั่งจ่ายยาบัวบกลดความร้อนในร่างกาย   คะแนนอรรถประโยชน์โดยใช้สถิติ Skilling–Mack
           และอาการวิงเวียนศีรษะ มีการสั่งจ่ายยาหอมเทพจิตร  test พบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนอรรถประโยชน์ของผู้ป่วย

           เพื่อบรรเทาอาการ (ตารางที่ 5)               ที่รับการรักษาด้วยต�ารับยาศุขไสยาศน์ก่อนเริ่มการ
                                                       รักษา และหลังการรักษาในเดือนที่ 1 และ 3 มีความ
           ผลของยำต่อคุณภำพชีวิต                       แตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ (SM = 8.28,

                ข้อมูลจากการประเมินคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพ   p < 0.001) และท�าการวิเคราะห์เปรียบเทียบโดยใช้
           EQ-5D-5L ฉบับภาษาไทย พบว่าค่าเฉลี่ยคะแนน    สถิติ Wilcoxon matched-pairs signed-rank test

           อรรถประโยชน์ก่อนเริ่มการรักษาของผู้ป่วยคือ 0.946   พบว่า คะแนนอรรถประโยชน์ก่อนเริ่มการรักษาและ
           ± 0.114 และเมื่อได้รับการรักษาด้วยต�ารับยาศุขไส-  หลังการรักษาในเดือนที่ 1 และเดือนที่ 3 มีความแตก
   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109