Page 211 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 211

J Thai Trad Alt Med                                  Vol. 20  No. 1  Jan-Apr  2022  191




              เล็กน้อย สีน�้าตาลแกมสีเหลืองถึงสีน�้าตาลเข้ม อาจมี       เอกสารอ้างอิง
              สันตามยาว 5-6 สัน ผิวระหว่างสันย่น โคนมีรอยแผล    1.  ชยันต์ พิเชียรสุนทร, วิเชียร จีรวงส์. ที่มาของค�า “โกษฐ์’’ และโกษ
              รูปกลม มีเมล็ดเดียว เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 2   ฐ์ที่ใช้มากในยาไทย. วารสารราชบัณฑิตยสถาน. 2546;28(1):113-
                                                              9.
              มิลลิเมตร เมื่อวัดตรงกลางประมาณ 6 มิลลิเมตร รส    2.  ชยันต์ พิเชียรสุนทร, วิเชียร จีรวงส์. คู่มือเภสัชกรรมแผนไทย
              เปรี้ยว ขม และฝาดเล็กน้อย [1,2,4]               เล่ม 5 คณาเภสัช. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ส�านักพิมพ์อมรินทร์;
                                                              2547. หน้า 250-1.
                   องค์ประกอบทางเคมี  สมอไทยมีสารส�าคัญ     3.  ชยันต์ พิเชียรสุนทร, แม้นมาส ชวลิต, วิเชียร จีรวงส์. ค�าอธิบาย
              เป็นสารกลุ่มแทนนิน (tannins) ได้แก่ กรดชีบูลินิก   ต�าราพระโอสถพระนารายณ์ ฉบับเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา
                                                              มหาราชา 5 ธันวาคม พุทธศักราช 2542. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ:
              (chebulinic acid), กรดชีบูลิก (chebulic acid),   ส�านักพิมพ์อมรินทร์ และมูลนิธิภูมิปัญญา; 2548. หน้า 617-21.

              กรดแทนนิก (tannic acid), กรดแกลลิก (gallic     4.  สวนพฤกษศาสตร์ป่าไม้ ส�านักวิชาการป่าไม้ กรมป่าไม้. ชื่อ
                                                              พรรณไม้แห่งประเทศไทย เต็ม สมิตินันทน์. ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม.
              acid) เป็นต้น นอกจากนั้น ยังมีสารกลุ่มแซโพนิน   กรุงเทพฯ: บริษัทประชาชนจ�ากัด; 2544. หน้า 519.

              (saponins) น�้ามันระเหยยาก (fixed oil) ซึ่งส่วนใหญ่    5.  Thai Herbal Pharmacopoeia. Vol. II. Nonthaburi: Depart-
                                                              ment of Medical Sciences, Ministry of Public Health;
              เป็นเอสเทอร์ (ester) ของกรดพาลมิติก (palmitic
                                                              2000. p. 80-1.
              acid) และกรดลิโนลีอิก (linoleic acid) เป็นต้น [1,2,4]    6.  Kirtikar KR, Basu BD, An ICS. Indian medicinal plants.

              ข้อบ่งใช้   -                                   Vol. II. Dehra Dun (India): Bishen Singh Mahendra Pal
                                                              Singh; 1993. p. 1020-3.
                   ต�าราสรรพคุณยาไทยว่าสมอไทยมีสรรพคุณแก้    7.  ก่องกานดา ชยามฤต. สมุนไพรไทย ตอนที่ 4. กรุงเทพฯ: หจก.
              อุจจาระธาตุพิการ แก้อติสาร แก้บิดมูกเลือด คุมธาตุ   ชุติมาการพิมพ์; 2528. หน้า 362-3.
                                                            8.  Tyler VE, Brady LR, Robbers JE. Pharmacognosy. 9th
              แก้ไข้พิษ แก้พิษท�าให้ร้อน แก้อาเจียน แก้เสมหะพิการ   ed. Philadelphia: Lea & Febiger; 1988. p. 77-80.
              แก้เม็ดยอดภายใน สมานแผล สมอไทยจัดเป็นเครื่อง    9.  Sabu MC, Ramadasan K. Anti-diabetic activity of me-
                                                              dicinal plants and its relationship with their antioxidant
              ยาสมุนไพรชนิดหนึ่งในพิกัดตรีผลา [1-2]           property. J Ethnopharmacol. 2002;81:155-60.
                   ข้อมูลจากการศึกษาวิจัยพรีคลินิกพบว่าสาร    10.  Sandhya T, Lathika KM, Pandey BN, Mishra KP. Potential
                                                              of traditional ayurvedic formation, Triphala, as a novel
              กลุ่มแทนนินในพืชมีฤทธิ์ฝาดสมาน  นอกจากนั้นยัง   anticancer drug. Cancer Lett. 2006;231(2):206-14.
                                         [8]
              มีรายงานว่าสารสกัดสมอไทยมีฤทธิ์ลดระดับน�้าตาล
              กลูโคสในเลือด  ฤทธิ์ต้านเซลล์มะเร็งบางชนิด [10]
                          [9]
   206   207   208   209   210   211   212   213   214   215   216