Page 210 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 210

190 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก         ปีที่ 20  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน  2565

















































                                  สมอไทย Terminalia chebula Retz. var. chebula
                               ก. ต้น  ข. พุ่มใบ แสดงใบและช่อดอก  ค. พุ่มใบ แสดงช่อผล



             5 กลีบ โคนเชื่อมติดกันเป็นรูปถ้วย ด้านในมีขนแน่น      ถิ่นกำาเนิดและการกระจายพันธุ์  พืชชนิดนี้
             เมื่อดอกบานเต็มที่กว้าง 3-4 มิลลิเมตร ไม่มีกลีบดอก   พบขึ้นตามป่าเบญจพรรณแล้งและชื้น ตั้งแต่ระดับน�้า

             เกสรเพศผู้มี 10 อัน เรียงเป็น 2 แถวรอบรังไข่ รังไข่  ทะเลจนถึงที่สูงจากระดับน�้าทะเล 800 เมตร พบตาม
             ใต้วงกลีบ รูปไข่ เกลี้ยง มี 1 ช่อง มีออวุล 2 เม็ด  ผล   ภาคต่าง ๆ ของประเทศทุกภาค ยกเว้นภาคใต้ ผลัด

             แบบผลผนังชั้นในแข็ง รูปกลมป้อมหรือรูปกระสวย   ใบตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ถึงมีนาคม ผลิใบอ่อนและตา
             กว้าง 2-3 เซนติเมตร ยาว 3-4 เซนติเมตร อาจมีพู  ดอกเดือนเมษายนถึงสิงหาคม เป็นผลเดือนตุลาคม
             หรือสันตามยาวได้หลายเหลี่ยม หรืออาจไม่มีเหลี่ยม   ถึงมกราคม [6]

             เนื้อหนา ผลแก่สีเขียวแกมเหลือง เมื่อแห้งจะเปลี่ยน     ลักษณะเครื่องยา  สมอไทยมีลักษณะเป็นผล
             เป็นสีด�า  เมล็ด มี 1 เมล็ด รูปรี ผิวขรุขระ กว้าง 5-7   แห้งรูปเกือบกลม รูปไข่ถึงรูปไข่แกมรูปรี กว้าง 1.5-
             มิลลิเมตร ยาว 1.5-2 เซนติเมตร [1-2, 4-7]    2.5 เซนติเมตร ยาว 2.5-5 เซนติเมตร ผิวย่น หยาบ
   205   206   207   208   209   210   211   212   213   214   215