Page 206 - วารสารกรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1
P. 206

186 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 20  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2565




             3. อ�ก�รไม่พึงประสงค์จ�กก�รใช้ย�            สถิติที่ p < 0.001)
                 พบรายงานมารดาหลังคลอดที่ได้รับยาประสะ       จากการน�าต�ารับยาประสะน�้านมมาใช้ในกลุ่ม

             น�้านม 1 คน มีอาการคลื่นไส้หลังจากรับประทานยาวัน  ทดลองจ�านวน 12 รายพบว่าได้ผลเพิ่มปริมาณน�้านม
             แรกเพียงวันเดียว แพทย์แผนไทยได้ให้ค�าแนะน�าโดย  ได้ดี โดยสรรพคุณของยาประสะน�้านมตามคัมภีร์ปฐม
             การให้พักผ่อนให้เพียงพอและท�าการติดตามอาการ   จินดาในต�าราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ฉบับหลวงกล่าว

             พบว่า ไม่พบความผิดปกติร้ายแรงอื่นใด         ว่า มีสรรพคุณเป็นยาประสะน�้านมบริบูรณ์ดีนัก โดย
                                                         ส่วนประกอบใช้ โกฐ 5 เทียน 5 กรุงเขมา 1 ขิงแห้ง 1
                           อภิปร�ยผล                     รากกระพังโหม 1 ชะมดต้น 1 โดยในรสยาของต�ารับ


                 การศึกษากึ่งทดลอง (quasi-experimental   นั้นมีรสร้อน โดยมีการกล่าวว่าสมุนไพรที่มีฤทธิ์ร้อน
             study) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลของ  สามารถใช้ในการบ�ารุงน�้านมได้ดี เพราะช่วยการไหล

             ยาประสะน�้านมต่อการเพิ่มปริมาณน�้านมในมารดา  เวียนเลือดให้เป็นปกติ ร่างกายแม่จึงย่อยและดูดซึม
                                                                   [5]
             หลังคลอด โดยเปรียบเทียบปริมาณน�้านมก่อนและ  อาหารได้ดีขึ้น  ซึ่งมีการศึกษาเกี่ยวกับสมุนไพรใน
             หลังใช้ยาประสะน�้านม โดยมีการวัดซ�้าในวันที่ 2, 3,   ต�ารับว่า ในสมุนไพรขิง มีฤทธิ์ร้อนจากสาร gingerol

             7 และ 14 หลังคลอด และเปรียบเทียบระหว่างกลุ่ม  ช่วยกระตุ้นการสร้างและหลั่งน�้านมได้ดี นอกจากนี้
             ที่ได้รับและไม่ได้รับยาประสะน�้านม พบว่า ในส่วน  ยังผ่านทางน�้านมไปยังลูก ช่วยให้ทารกไม่ปวดท้อง

                                                              [6]
             ของวันที่ 1-2 หลังคลอดไม่พบความแตกต่างกันของ  อีกด้วย  อีกทั้งเมื่อศึกษาในมารดาหลังคลอดที่เสริม
             ปริมาณน�้านม สอดคล้องกับการศึกษาของขนิษฐา   ด้วยน�้าขิงมีค่าเฉลี่ยของปริมาณน�้านมมากกว่ากลุ่ม
             มีประดิษฐ์ ซึ่งได้อธิบายว่า เนื่องจากในกระบวนการ  ที่ไม่ได้เสริมด้วยน�้าขิง  โดยวิธีการเตรียมยาตามที่
                                                                          [7]
             สร้างน�้านมนั้นช่วง 1-2 วันแรกหลังคลอดหรือเรียกว่า  กล่าวไว้ในพระคัมภีร์นั้นน�ามาต้ม 3 เอา 1 กินก่อน
             ระยะ Lactogenesis I - Lactogenesis II จะอยู่ภาย  อาหารวันละ 3 ครั้งหลังคลอดบุตร 24 ชั่วโมงเป็นเวลา
             ใต้การควบคุมของระบบต่อมไร้ท่อ แต่หลังจากเข้า  14 วัน และในด้านความปลอดภัย พบว่ามารดาหลัง

             ระยะ Lactogenesis III จะเปลี่ยนจากระบบที่ควบคุม  คลอดให้นมบุตรในกลุ่มทดลองมีอาการคลื่นไส้ 1 ราย
             ด้วยฮอร์โมนมาเป็นระบบที่ควบคุมโดยปัจจัยของ  ไม่มีรายงานผลข้างเคียงร้ายแรงอื่น จึงสรุปได้ว่ายา
             เต้านม (Autocrine หรือ Local control system)    ประสะน�้านม ตามคัมภีร์ปฐมจินดามีความปลอดภัย
                                                   [4]
             ท�าให้ในช่วงแรกการหลั่งของปริมาณน�้านมทั้ง 2 กลุ่ม  และเหมาะสมที่จะใช้เป็นตัวเลือกในการเพิ่มปริมาณ
             จึงไม่มีความแตกต่างกัน จากการศึกษาพบว่าในวันที่ 3   น�้านมในมารดาหลังคลอดให้นมบุตรตามทฤษฎีการ

             เริ่มมีค่าเฉลี่ยของปริมาณน�้านมที่แตกต่างกัน โดยยา  แพทย์แผนไทย
             ประสะน�้านมมีผลเพิ่มปริมาณน�้านมอย่างมีนัยส�าคัญ     การศึกษานี้เป็นการวัดปริมาณน�้านม ทั้งนี้ ใน
             ทางสถิติตั้งแต่วันที่ 3 หลังคลอด และปริมาณน�้านม  ส่วนของคุณภาพของน�้านมไม่มีการตรวจสอบว่า

             ที่ 14 วันหลังคลอดในกลุ่มที่ได้รับยาประสะน�้านม   น�้านมที่ออกมาเพิ่ม มีคุณภาพดีหรือไม่ ซึ่งควรมีการ
             มีปริมาณมากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยส�าคัญทาง  ศึกษาเพิ่มเติมต่อไป
   201   202   203   204   205   206   207   208   209   210   211